แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง ”
หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ
หัวหน้าโครงการ
นางวิจิตรา ทัพซ้าย
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง
ที่อยู่ หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัด อำนาจเจริญ
รหัสโครงการ ศรร.1311-088 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.42
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง จังหวัดอำนาจเจริญ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ รหัสโครงการ ศรร.1311-088 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 148 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการเกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณะสุขกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานครและระทรวงมหาดไทยภายใต้การสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบผลสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร โครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียนโดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน ๘ องค์ประกอบ คือ ๑) การเกษตรในโรงเรียน ๒)สหกรณ์นักเรียน ๓)การจัดการบริการอาหารในโรงเรียน ๔)การติดตามภาวะโภชนาการ ๕)การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๖)การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโร เรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗)การจัดบริการสุขภาพและ ๘) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัยโดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน ๔ ประการตามแนวพระราชดำริ คือมีพุทธศึกษา หัตถศึกษา และจริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดีสุขภาพแข็งแรงไปพร้อมกับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ดีมีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing ) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่๑ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ๕๔๔ โรงเรียนจากทั่วประเทศ สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของโรงเรียนพัฒนาสามัคคีที่ผ่านมาพบว่า เด็กนักเรียนยังมีปัญหากล่าวคือ เด็กได้รับอาหารไม่ครบจนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือได้รับอาหารมากผิดปกติจนผิดสัดส่วนที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ขาดสารอาหารหมายถึงอาจจะได้รับอาหารไม่ครบประมาณหรือไม่ได้รับอาหารกลางวันพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม จึงส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางสติปัญญา ร่างกาย และอารมณ์ของเด็ก ทำให้เด็กขาดศักยภาพที่จะเรียนรู้ตาม จากสถานการณ์ดังกล่าว
โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการปีที่๑ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีสุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์สมวัย
- 2. เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง
- 3. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนและสามารถพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั้งภายในและภายนอกได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนโนนสูงโคกกลางเป็นโรงเรียนในโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน สามารถนำไปประกอบอาชีพในอนาคตได้
- สร้างองค์ความรู้และตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหารสมวัย ให้กับนักเรียนบุคลากร ผู้ปกครองและชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุม ครู ผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเข้าใจโครงเพื่อแสวงหาความร่วมมือในการดำเนินงาน
วันที่ 12 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมชี้แจงครู ผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเข้าใจโครงเพื่อแสวงหาความร่วมมือในการดำเนินงาน
(๑) กำหนดนโยบายเพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
(๒) แนวทางดำเนินงานให้กับชุมชนหรือผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษามีความเข้าใจ และกำหนดนโยบายเพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
สามารถนำผลการอบรมไปขยายผลต่อให้กับชุมชนตนเองและชุมชนใกล้เคียงได้
154
80
2. อบรมครูนักเรียนเรื่องรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
วันที่ 13 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เรื่องที่ใช้ในการอบรม
- การตรวจสุขภาพฟันการแปรงฟันที่ถูกวิธี
- การรับประทานอาหารที่ถูกหลักภาวโภชนาการ
- การออกกำลังกาย
- การพัฒนาสุขนิสัยให้ถูกสุขบัญญัติ 10 ประการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์สามารถปฏิบัติตนได้ตามสุขบัญญัติ 10 ประการได้อย่างถูกต้องทุกคน
- นักเรียนที่เป็นแกนนำสามารถขยายผลสู่ครอบครัวชุมชนได้
- ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่ดีและถูกหลักอนามัย
60
60
3. การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ / เลี้ยงเป็ดพื้นเมือง
วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค่าไก่ไข่ระยะไข่40 ตัวตัวละ200 บาทเป็นจำนวนเงิน8000 บาท
- ค่าเป็ดพันธุ์พื้นเมืองระยะไข่40 ตัวตัวละ200 บาทเป็นจำนวนเงิน8000 บาท
- ค่าอาหารไก่และเป็ด8 กระสอบกระสอบละ500 บาทเป็นเงิน4,000 บาท
- ค่าวัคซีนป้องกันโรค และอุปกรณ์เลี้ยงไก่ครบชุด3,000 บาท
- ค่าสมุดบันทึกการทำกิจกรรมการเรียนรู้การเลี้ยงไก่และเป็ด3,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนจำนวน 70คนได้ฝึกปฏิบัติจริงเรื่องเกษตรในโรงเรียน
- ความต้องการของโรงเรียน ทำไข่พะโล้ ทุกวันอังคาร ใช้ไข่ 70-120 ฟอง ต่อสัปดาห์
- ผลผลิต ไข่ไก่และไข่เป็ด 80 ตัว สามารถผลิค วันละ 30 ฟอง เฉลี่ยสัปดาห์ละ 150 ฟอง (หมายเหตุ สัปดาห์เท่ากับ 5 วัน)
ต้นทุนการเลี้ยง
- ค่าอาหารอาทิตย์ละ 2 กระสอบ เฉลี่ย 1,000 บาท ต่ออาทิตย์
การเลี้ยง
- นักเรียนจะแบ่งกลุ่มรับผิดชอบ ให้อาหารดูแล มีการจดบันทึกผลผลิตที่ได้แต่ละวัน
- อาหารเสริมจากผักบุ้ง เศษอาหารกลางวัน สามารถนำมาเสริมอาหารลดต้นทุนได้
77
70
4. การปลูกข้าว
วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนทำการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวหอมมะลิโดยครูนักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันทำกิจกรรมนี้
โรงเรียนมีที่นาจำนวน2 ไร่ ในช่วงเดือนมิถุนายนได้ทำการไถหว่านกล้าได้ซื้อพันธุ์ข้าวและปุ๋ยคอกอุปกรณ์ที่ใช้ในการเกษตร
โดยใช้งบประมาณพันธุ์ข้าว2กระสอบกระสอบละ700บาทเป็นเงิน1400บาทกิจกรรมให้ความรู้(ค่าเอกสารและอาหารว่าง3600บาท)
ค่าไถกรบเตรียมดินก่อนปลูกข้าว3000ค่าวัสดุทางการเกษตร2000
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนทุกคนได้ฝึกปฏิบัติการปลูกข้าวนาปรัง /นาปี(ข้าวไรซ์เบอร์รี่ / ข้าวหอมมะลิ )
- เดือนมิถุนายน หว่านกล้า เตรียมปุ๋ย เตรียมแปลง
- 15 กรกฏาคม 2559 ปักดำข้าวพันธุ์ไรซ์เบอร์รี่
- สามารถเก็บเกี่ยวได้ต้นเดือนพฤศจิกายน
- คาดการณ์ผลผลิต ปลูก 2 ไร่ ประมาณ 25 กระสอบ (1 กระสอบ 25 กิโลกรัม) สามารถผลิตได้ 625 กิโลกรัม (ข้าวเปลือก)
เมื่อนำไปสีเป็นข้าวสาร 625 กิโลกรัม (ข้าวเปลือก 25 ก.ก. สามารถเปลี่ยนเป็นข้าวสาร 18 ก.ก. (ข้าวปลาย แกลบ รำ 7 กิโลกรัม)) ดังนั้น สามารถผลิตข้าวสารได้ 450 กิโลกรัม
ความต้องการข้าวของนักเรียน 70 คน กิน 1 มื้อตอนเที่ยง ใช้ข้าวสาร 12 กิโลกรัมต่อมื้อ (ส่วนประสอบข้าวขาว 11 กิโลกรัม /ข้าวไร่เบอร์รี่ 1 กิโลกรัม)
ดังนั้น ข้าวไร่เบอร์ปลูก 1 ครั้ง จำนวน 2 ไร่ ได้ผลผลิต 450 กิโลกรัม นำไปประกอบหุงเป็นส่วนผสมข้าวมื้อกลางวันละ 1 กิโลกรัม สามารถใช้ได้ 450 มื้อ หรือ 450 วัน และเก็บพันธุ์ข้าวปลูกในปีต่อไปได้ นอกจากนี้เมื่อคำนวนตัวเลขค่าใช้จ่าย สามารถลดค่าใช้จ่าย (450 ก.ก. x 60 บาท) 27,000 บาท
77
77
5. การประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2
วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2
-ตรวจเอกสารการเงิน
- รายงานผลการดำเนินงาน
- ปรับกรอบแนวคิด ปรับกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ไ้ด้เพิ่มผลรายละเอียดผลการดำเนิน คำนวณความต้องการปริมาณของอาหารกลางวัน และผลผลิตจากโรงเรียน
- เอกสารทางการเงินปรับแก้ไขให้ถูกต้องตามหลักการ
- ปรับแผนกิจกรรม
6
6
6. การปลูกพืชผักสวนครัวและไม้ผล
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ค่าพันธุ์ผัก จำนวน 1000 บาท
ค่าจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปลูกพืชผักสวนครัว
ค่าปุ๋ยคอก (ค่าวัสดุทำปุ๋ยหมักชีวภาพ เช่น แกลบ อีเอม 2000 บาท)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครูผู้รับผิดชอบจัดหาพันธุ์ผัก
- ครูนักเรียนร่วมกันจัดเตรียมแปลงผัก
- ครูนักเรียนร่วมกันปลูกผัก และทำปุ๋ยคอก
77
0
7. ปรับปรุงห้องสหกรณ์ของหนู
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อ ชั้นวางของ และจัดซื้อวัสดุเพื่อจัดทำเอกสารประกอบกิจกรรมสหกรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้การเป็นผู้ขายและผู้ซื้อจากการใช้ห้องสหกรณ์
0
76
8. กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมรณรงค์ให้นักเรียนทุกคนได้เ้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม
จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับตกแต่งสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้น่าอยู่
- ไม้กวาดมือเสือ20 อัน เป็นจำนวนเงิน 600 บาท
- ถังขยะ 16 อัน เป็นจำนวนเงิน 3,200 บาท
- กระถางปลูกผัก เป็นจำนวนเงิน 2,200 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อาคารสถานที่สะอาดร่มรื่น น่าอยู่ นักเรียนสุขภาวะที่ดี
- สถานที่เหมาะสำหรับการจัดการเรียนการสอน
- ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
- นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดกิจรรมทุกครั้ง
161
0
9. เพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ซื้อก้อนเห็ด 300 ก้อน ก้อนละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 3000
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. นักเรียนและครูร่วมกันจัดเตรียมโรงเพาะเห็ด
๒. นักเรียนช่วยกันเปิดก้อนเห็ด
๓. แบบหน้าที่กันรับผิดชอบตั้งเวรรดน้ำเห็ดและเก็บเห็ดเพื่อนำไปขายเข้าสหกรณ์
33
0
10. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ซื้อปลาดุกุ600ตัวละ 3บาทจำนวนเงิน1800 บาท
ค่าอาหารปลากระสอบละ400 บาทจำนวน3กระสอบเป็นเงิน1200 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ซื้อปลาดุก ุ600 ตัวละ 3 บาท จำนวนเงิน 1800 บาท
ค่าอาหารปลา กระสอบละ 400 บาท จำนวน 3 กระสอบ เป็นเงิน 1200 บาท
69
0
11. การสร้างเสริมสมรรถภาพทางด้านร่างกาย (ออกกำลังกาย)
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-เชื่อกระโดด 10 เน้น ราคาเส้นละ 65 บาท รวมเป็นเงิน 650 บาท
-ฟุตบอลเบอร์ 3 ไฟเบอร์ 1 ลูก เป็นเงิน 650 บาท
-ฟุตบอลเบอร์ 3 สะท้อนแสง 1 ลูก เป็นเงิน 300 บาท
-ภาพโปสเตอร์ประกอบการศึกษา 20 แผ่น เป็นจำนวนเงิน 400 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีอุปกรณ์การเล่นกีฬา
นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายที่ดี
0
0
12. จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- แฟ้มอ่อนคลิพลาสติก 100 แฟ้ม เป็นจำนวนเงิน 800 บาท
- บัตรสุขภาพ 100 แฟ้ม เปนจำนวนเงิน 700 บาท
- กระดาษทำปกสี 2 ห่อ เป็นจำนวนเงิน 240 บาท
- สมุดบันทึกมุมมัน 1 เล่ม เป็นเงิน 260 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูจัดทำระบบสารสนเทศเรื่องภาวะโภชนาการของนักเรียน ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ง่าย และนำผู้มีมีปัญหาทางด้านโภชนาการมาจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้ตามความเหมาะสม
33
0
13. ห้องพยาบาล ศูนย์การเรียนรู้
วันที่ 17 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตกแต่งห้องพยาบาล และซึ้อเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เป็นจำนวนเงิน 2,020 บาท
จัดอบรมนักเรียนในการใช้ห้องพยาบาล งบประมาณที่เหลืออีก 1,980 บาท น้ำไปใช้ในกิจกรรมอบรมพัฒนาสุขนิสัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดีให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับความรู้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- นักเรียนได้ร่วมลงมือปฏิบัติจริงจากการจัดกิจกรรมอบรมการใช้ห้องพยาบาล
- นักเรียนแยกยาสามัญ แต่ละประเภทได้
- ห้องพยาบาลมีความสวยงาม
32
32
14. อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 21 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมอบรมสุขนิสัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดีให้กับนักเรียน
โดยคิดเป็นค่าจ้างเหมาจัดทำอาหาร จำนวน 60 คนๆละ 50 บาทเป็นจำนวนเงิน 3,000
และรับเงินจากกิจกรรมห้องพยาบาลศูนย์การเรียนรู้จำนวนเงิน 1,980 บาท นำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุในการจัดอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-นักเรียนได้รับความรู้จากการแปรงฟันให้ถูกวิธี
-นักเรีนนได้รับความรู้จากการดูแลสุขภาพและตรวจสุขภาพตัวเองเบื้องต้น
-นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
87
60
15. สุขาภิบาลดีชีวีปลอดภัย
วันที่ 21 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมร่วมกันกับกิจกรรมอบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ โดยงบประมาณจะนำไปเป็นค่าจ้างเหมาทำอาหารว่าง และค่าเครื่องดื่ม เป็นจำนวนเงิน 2,400 บาท
เหลืออีก 100 บาท นำไปใช้จ่ายในการซื้อวัสดุในการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-นักเรียนได้รับความรู้จากการแปรงฟันให้ถูกวิธี
-นักเรีนนได้รับความรู้จากการดูแลสุขภาพและตรวจสุขภาพตัวเองเบื้องต้น
-นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
10
60
16. อบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จ่ายเป็นค่าจ้างเหมาทำอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มในกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เป็นจำนวนเงิน 4,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ขยายผลให้กับกลุ่มโรงเรียนเครือข่าย 9 (พนา) และผู้ปกครองนักเรียน
ถึงแนวทางในการจะก้าวเข้าสู่โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส และอบรมการสร้างภาวะโภชนาการที่ดีให้กับนักเรียน
17
60
17. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จ่ายเป็นค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารในกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เป็นจำนวนเงิน 1,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่าย 9 (พนา) จำนวน 40 คน และผู้ปกครองนักเรียน 20 คน
110
60
18. กิจกรรมบูรณาการการเกษตรสหกรณ์โภชนาการสู่การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จ่ายเป็นค่าจ้างเหมาทำอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มในกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เป็นจำนวนเงิน 2,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่าย 9 (พนา) และผู้ปกครองนักเรียน
0
60
19. กิจกรรมนิเทศ กำกับติดตาม และรายงาน
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จ่ายค่าวัสดุในกิจกรรมนิเทศ กำกับติดตาม และรายงาน เป็นจำนวนเงิน 1,200 บาท
จ่ายค่าจ้างเหมาอาหาร เป็นจำนวนเงิน 600 บาท ค่าวัสดุในการอบรม จำนวนเงิน 490 บาท และค่าถายเอกสาร 110 บาท ในการทำกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมที่ตัวเองรับผิดชอบ หาวิธีการดำเนินตามโครงการให้เป็นโครงการที่ยั่งยืน
7
7
20. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการจำนวน 31.68
3
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์สมวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี
1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 5 %
2. ภาวะผอม ไม่เกิน 5 %
3. ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 6 %
ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี)
4. นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก วันละประมาณ 6000 กรัมอนุบาล3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน ( 70 กรัม) ผลไม้ (อนุบาล 0.5 ส่วนประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน
- สังเกต
- ประเมินพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กตามช่วงวัย
2
2. เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทักษะด้านการเกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง
2. นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง)
4. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี
5. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)
6. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
- สังเกต
- สัมภาษณ์
3
3. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนและสามารถพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั้งภายในและภายนอกได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ :
1. นักเรียนโรงเรียนโนนสูงโคกกลางมีทุพโภชนาการลดลง
2. โรงเรียนพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนทั้งในและนอกโรงเรียนได้
- สังเกต
- สัมภาษณ์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์สมวัย (2) 2. เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง (3) 3. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนและสามารถพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั้งภายในและภายนอกได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง
รหัสโครงการ ศรร.1311-088 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.42 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การจัดกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่หลากหลายและเน้นให้ผู้เรียนและครูมีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยแน้นกิจกรรมที่ทุกคนได้ลงมือปฏิบัติเช่นการทำนาข้าวไร้ซ์เบอรรี การปลูกกล้วยน้ำหว้า แก้วมังกร มะนาว พืชผักสวนครัว การเลี้ยงเห็ด เลี้ยงไก่พันธ์ไข่เลี้ยงปลา และเลี้ยงเป็ด
รายละเอียดการดำเนินงาน
๑. ประชุมครู เพื่อร่วมกันเสนอกิจกรรมที่จะดำเนินงานตลอดจนผู้รับผิดชอบ จากนั้นประชุมชี้แจงแก่ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา
๒. ครูุออกแบบกิจกรรมการดำเนินงาน กำหนดเป็นแผนและปฏิทิน
๓. จัดกิจกรรมตามแผนหรือปฏิทินที่กำหนดโดยเน้นการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning คือเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติและมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้ส่งต่อให้โครงการอาหารกลางวันเพื่อนำไปประกอบอาหารให้นักเรียน
๔. ผู้บริหารนิเทศติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
๕. ครูและผู้บริหารร่วมกันประเมินทบทวน AARและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการจัดกิจกรรมร่วมกัน
๖. ประเมินสรุปผลการดำเนินงาน
๑. พัฒนาต่อยอดในทุกกิจกรรมให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน
๒. ขยายปริมาณการผลิตเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนให้มากขึ้นจนสามารถ จำหน่ายแก่ชุมชนเพื่อเป็นรายได้แก่นักเรียนและโรงเรียน
๓. จัดกิจกรรมเปิดบ้านเพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานเพื่อขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย หน่วยงานต้นสังกัดและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เป็นกิจกรรมที่เปิดดำเนินการขึ้นเพื้อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักการทำบัญชี การบริหารการเงิน และประโยชน์ของการมีกลุ่มสหกรณ์ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
๑. อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานสหกรณ์แก่นักเรียนและคุณครูผู้รับผิดชอบ
๒. จัดหาห้องและอุปกรณ์การจัดตั้งสหกรณ์โรงเรียน
๓. เปิดระดมหุ้นสหกรณ์จากครูและนักเรียน
๔. ดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียนโดยเปิดจำหน่ายทุกวันในเวลา ๐๗.๐๐-๐๗.๕๐และ ๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐
๕. นักเรียนจะนำผลผลิตทางการเกษตรที่มีในโรงเรียนมาจำหน่วยแก่สหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์ขายต่อแก่โครงการอาหารกลางวัน เป็นการหมุนเวียนทุนภายในโรงเรียน นักเรียนได้เห็นผลจากการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของการจัดกิจกรรมเกษตรต่างๆในโรงเรียน
๕. ผู้บริหารนิเทศติดตาม คณะกรรมการสหกรณ์มีการรายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมครูอย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆอย่างน้อยเดือนละครั้ง
๖. เมื่อสิ้นปีคณะกรรมการทำการสรุปบัญชีเพื่อปันผลสหกรณ์คืนให้แก่สมาชิก
๗. เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการสรุปรายงานผลการดำเนินงานเสนอต่อผู้บริหาร
ในปีการศึกษาหน้าโรงเรียนมีแนวคิดจะเปิดสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการประหยัดและอดออมเห็นคุณค่าของการออมเงิน และอีกหนึ่งกิจกรรมคือธนาคารความดี จะเปิดบริการในรูปให้นักเรียนให้มาฝากว่าวันนี้ทำความดีอะไร ทำครบ๑๐ ครั้งได้รับโบว์๑อันสะสมความดีใครครบร้อยครั้งจะได้เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดอบรมนักเรียนเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะภายใต้ชื่อกิจกรรมสุขาภิบาลดีชีวีปลอดภัยการจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม School lunch .
มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องสุขนิสัยในการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน และการจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม School lunch . ซึ่งสามารถจัดบริการอาหารให้นักเรียนได้ครบตามสัดส่วนโภชนาการ นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดย บางวันจะมาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยแม่ครัวประกอบอาหาร และทุกวันจะมีเวรคณะกรรมการนักเรียนมาตักอาหารบริหารแก่นักเรียนซึ่งนักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวัน ได้รับสารอาหารครบทุกหมู่ทำให้มีภาวะโภชนาการที่ดี ตามเกณฑ์ ในส่วนอาหารกลางวันวัตถุดิบที่นำมาประกอบอาหารส่วนหนึ่งได้จากโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนจึงทำให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ได้จากวัตถุดิบในโรงเรียน ผักหรือผลไม้ก็เป็นผลไม้ปลอดสาร
จะพัฒนารูปแบบการจัดทำอาหารกลางวันโดยเน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมมากขึ้นแต่ไม่เป็นการเบียดบังเวลาเรียน คือจัดกิจกรรมบูรณาการสอนเรื่องการประกอบอาหารต่างๆ โดยบูรณาการในกลุ่มสระสุขศึกษาหรือโครงงานอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนได้เห็นประโยชน์และความสำคัญของการประกอบอาหารฝึกการคิดวิเคราะห์การนำเสนองานสามารถนำทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน
เป็นกิจกรรมที่ครูดำเนินการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียนอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้งเพื่อเป็นการติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของนักเรียน ตลอดจนการทดสอบสมรรถภาพนักเรียน เมื่อครูได้ผลการประเมินต่างๆก็จะนำมาบันทึกเป็นสารสนเทศเพื่อสะดวกในการนำผลการประเมินไปใช้ โดยครูกนำผลนี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์
จัดกิจกรรมออกกำลังกายประกอบเพลงให้แก่นักเรียนทุกเช้าก่อนเรียน ตลอดจนจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงโทษของโรคที่เกิดจากภาวะโดภชนาการเกินเช่นโรคอ้วนหรือเบาหวานเป็นต้น จะทำให้นักเรียนและผู้ปกครองมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร มีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางด้านร่างกาย ( ออกกำลังกาย)
เป็นกิจกรรมที่กำหนดให้นักเรียนทุกคนได้แปรงฟันหลังจากรับประทานอาหารทุกวันในช่วงหลังรับประทานอาหารกลางวัน โดยครูติดตามเช็คทุกวัน นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมที่เชิญคุณหมอหมาตรวจสุขภาพฟันและสุขภาพทั้วไปของนักเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละครั้ง ในส่วนกิจกรรมออกกำลังกายนักเรียนจะออกกำลังทุกเช้าหลังเสร็จกิจกรรมหน้าเสาธง โดยมีครูเป็นผู้นำกายบริหาร และบางวันจะเป็นการเต้นประกอบเพลง
แนวทางการพัฒนาต่อยอดคือจะจัดกิจกรรมออกกำลังกายประกอบเพลงมาร์ชของโรงเรียน โดยให้ครูและนักเรียนร่วมกันคิดท่าทางประกอบเพลง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
อบรมขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมถึงเห็นประโยชน์ของขยะที่สามารถนำมาขายหรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ โดยมีรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
๑. การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะในโรงเรยน
๒. จัดหาจัดซื้อถังขยะแล้วให้นักเรียนช่วยกันทาสีเป็นรูปการ์ตูนตามใจชอบเช่นคิตตี้ โดเรม่อน เรโร่ะเป็นต้น
๓. จัดวางถังขยะตามจุดต่างๆในโรงเรียน
๔. รณรงค์ให้นักเรียนทิ้งขยะให้ถูกประเภท
๕ . ครูติดตามประเมินผลโดยตรวจเช็คว่านักเรียนทิ้งขยะถูกต้องตามประเภทหรือไม่
ในปีการศึกษาหน้าจะดำเนินการเปิดเป็นธนาคารขยะในรูปแบบที่สมบูรณ์โดย เปิดบริการรับซื้อขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง จังหวัด อำนาจเจริญ
รหัสโครงการ ศรร.1311-088
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิจิตรา ทัพซ้าย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง ”
หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ
หัวหน้าโครงการ
นางวิจิตรา ทัพซ้าย
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัด อำนาจเจริญ
รหัสโครงการ ศรร.1311-088 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.42
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง จังหวัดอำนาจเจริญ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 12 ตำบลไม้กลอน อำเภอพนา จังหวัดอำนาจเจริญ รหัสโครงการ ศรร.1311-088 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 148 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการเกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณะสุขกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานครและระทรวงมหาดไทยภายใต้การสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบผลสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร โครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียนโดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน ๘ องค์ประกอบ คือ ๑) การเกษตรในโรงเรียน ๒)สหกรณ์นักเรียน ๓)การจัดการบริการอาหารในโรงเรียน ๔)การติดตามภาวะโภชนาการ ๕)การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๖)การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโร เรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗)การจัดบริการสุขภาพและ ๘) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัยโดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน ๔ ประการตามแนวพระราชดำริ คือมีพุทธศึกษา หัตถศึกษา และจริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดีสุขภาพแข็งแรงไปพร้อมกับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่ดีมีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing ) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่๑ (พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ๕๔๔ โรงเรียนจากทั่วประเทศ สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของโรงเรียนพัฒนาสามัคคีที่ผ่านมาพบว่า เด็กนักเรียนยังมีปัญหากล่าวคือ เด็กได้รับอาหารไม่ครบจนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือได้รับอาหารมากผิดปกติจนผิดสัดส่วนที่เหมาะสม นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ขาดสารอาหารหมายถึงอาจจะได้รับอาหารไม่ครบประมาณหรือไม่ได้รับอาหารกลางวันพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม จึงส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางสติปัญญา ร่างกาย และอารมณ์ของเด็ก ทำให้เด็กขาดศักยภาพที่จะเรียนรู้ตาม จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการปีที่๑ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการดีสุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์สมวัย
- 2. เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง
- 3. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนและสามารถพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั้งภายในและภายนอกได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนโนนสูงโคกกลางเป็นโรงเรียนในโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- ส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านการเกษตรให้กับนักเรียน สามารถนำไปประกอบอาชีพในอนาคตได้
- สร้างองค์ความรู้และตระหนักในการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการอาหารสมวัย ให้กับนักเรียนบุคลากร ผู้ปกครองและชุมชนได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุม ครู ผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเข้าใจโครงเพื่อแสวงหาความร่วมมือในการดำเนินงาน |
||
วันที่ 12 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดประชุมชี้แจงครู ผู้ปกครอง เพื่อสร้างความเข้าใจโครงเพื่อแสวงหาความร่วมมือในการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษามีความเข้าใจ และกำหนดนโยบายเพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สามารถนำผลการอบรมไปขยายผลต่อให้กับชุมชนตนเองและชุมชนใกล้เคียงได้
|
154 | 80 |
2. อบรมครูนักเรียนเรื่องรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ |
||
วันที่ 13 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเรื่องที่ใช้ในการอบรม
- การตรวจสุขภาพฟันการแปรงฟันที่ถูกวิธี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 60 |
3. การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ / เลี้ยงเป็ดพื้นเมือง |
||
วันที่ 25 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ต้นทุนการเลี้ยง การเลี้ยง
- นักเรียนจะแบ่งกลุ่มรับผิดชอบ ให้อาหารดูแล มีการจดบันทึกผลผลิตที่ได้แต่ละวัน
|
77 | 70 |
4. การปลูกข้าว |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำโรงเรียนทำการปลูกข้าวไรซ์เบอรี่และข้าวหอมมะลิโดยครูนักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันทำกิจกรรมนี้ โรงเรียนมีที่นาจำนวน2 ไร่ ในช่วงเดือนมิถุนายนได้ทำการไถหว่านกล้าได้ซื้อพันธุ์ข้าวและปุ๋ยคอกอุปกรณ์ที่ใช้ในการเกษตร โดยใช้งบประมาณพันธุ์ข้าว2กระสอบกระสอบละ700บาทเป็นเงิน1400บาทกิจกรรมให้ความรู้(ค่าเอกสารและอาหารว่าง3600บาท) ค่าไถกรบเตรียมดินก่อนปลูกข้าว3000ค่าวัสดุทางการเกษตร2000 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
77 | 77 |
5. การประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2 |
||
วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการประชุมเชิงปฏิบัติการ การทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2 -ตรวจเอกสารการเงิน - รายงานผลการดำเนินงาน - ปรับกรอบแนวคิด ปรับกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
6 | 6 |
6. การปลูกพืชผักสวนครัวและไม้ผล |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำค่าพันธุ์ผัก จำนวน 1000 บาท
ค่าจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปลูกพืชผักสวนครัว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
77 | 0 |
7. ปรับปรุงห้องสหกรณ์ของหนู |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อ ชั้นวางของ และจัดซื้อวัสดุเพื่อจัดทำเอกสารประกอบกิจกรรมสหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 76 |
8. กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมรณรงค์ให้นักเรียนทุกคนได้เ้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับตกแต่งสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้น่าอยู่ - ไม้กวาดมือเสือ20 อัน เป็นจำนวนเงิน 600 บาท - ถังขยะ 16 อัน เป็นจำนวนเงิน 3,200 บาท - กระถางปลูกผัก เป็นจำนวนเงิน 2,200 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
161 | 0 |
9. เพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำซื้อก้อนเห็ด 300 ก้อน ก้อนละ 10 บาท รวมเป็นเงิน 3000 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. นักเรียนและครูร่วมกันจัดเตรียมโรงเพาะเห็ด ๒. นักเรียนช่วยกันเปิดก้อนเห็ด ๓. แบบหน้าที่กันรับผิดชอบตั้งเวรรดน้ำเห็ดและเก็บเห็ดเพื่อนำไปขายเข้าสหกรณ์
|
33 | 0 |
10. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำซื้อปลาดุกุ600ตัวละ 3บาทจำนวนเงิน1800 บาท ค่าอาหารปลากระสอบละ400 บาทจำนวน3กระสอบเป็นเงิน1200 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นซื้อปลาดุก ุ600 ตัวละ 3 บาท จำนวนเงิน 1800 บาท ค่าอาหารปลา กระสอบละ 400 บาท จำนวน 3 กระสอบ เป็นเงิน 1200 บาท
|
69 | 0 |
11. การสร้างเสริมสมรรถภาพทางด้านร่างกาย (ออกกำลังกาย) |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-เชื่อกระโดด 10 เน้น ราคาเส้นละ 65 บาท รวมเป็นเงิน 650 บาท -ฟุตบอลเบอร์ 3 ไฟเบอร์ 1 ลูก เป็นเงิน 650 บาท -ฟุตบอลเบอร์ 3 สะท้อนแสง 1 ลูก เป็นเงิน 300 บาท -ภาพโปสเตอร์ประกอบการศึกษา 20 แผ่น เป็นจำนวนเงิน 400 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีอุปกรณ์การเล่นกีฬา
|
0 | 0 |
12. จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูจัดทำระบบสารสนเทศเรื่องภาวะโภชนาการของนักเรียน ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ง่าย และนำผู้มีมีปัญหาทางด้านโภชนาการมาจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้ตามความเหมาะสม
|
33 | 0 |
13. ห้องพยาบาล ศูนย์การเรียนรู้ |
||
วันที่ 17 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตกแต่งห้องพยาบาล และซึ้อเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เป็นจำนวนเงิน 2,020 บาท จัดอบรมนักเรียนในการใช้ห้องพยาบาล งบประมาณที่เหลืออีก 1,980 บาท น้ำไปใช้ในกิจกรรมอบรมพัฒนาสุขนิสัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดีให้กับนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
32 | 32 |
14. อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ |
||
วันที่ 21 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมอบรมสุขนิสัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดีให้กับนักเรียน โดยคิดเป็นค่าจ้างเหมาจัดทำอาหาร จำนวน 60 คนๆละ 50 บาทเป็นจำนวนเงิน 3,000 และรับเงินจากกิจกรรมห้องพยาบาลศูนย์การเรียนรู้จำนวนเงิน 1,980 บาท นำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุในการจัดอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-นักเรียนได้รับความรู้จากการแปรงฟันให้ถูกวิธี -นักเรีนนได้รับความรู้จากการดูแลสุขภาพและตรวจสุขภาพตัวเองเบื้องต้น -นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
|
87 | 60 |
15. สุขาภิบาลดีชีวีปลอดภัย |
||
วันที่ 21 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมร่วมกันกับกิจกรรมอบรมนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ โดยงบประมาณจะนำไปเป็นค่าจ้างเหมาทำอาหารว่าง และค่าเครื่องดื่ม เป็นจำนวนเงิน 2,400 บาท เหลืออีก 100 บาท นำไปใช้จ่ายในการซื้อวัสดุในการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-นักเรียนได้รับความรู้จากการแปรงฟันให้ถูกวิธี -นักเรีนนได้รับความรู้จากการดูแลสุขภาพและตรวจสุขภาพตัวเองเบื้องต้น -นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
|
10 | 60 |
16. อบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจ่ายเป็นค่าจ้างเหมาทำอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มในกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เป็นจำนวนเงิน 4,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นขยายผลให้กับกลุ่มโรงเรียนเครือข่าย 9 (พนา) และผู้ปกครองนักเรียน ถึงแนวทางในการจะก้าวเข้าสู่โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส และอบรมการสร้างภาวะโภชนาการที่ดีให้กับนักเรียน
|
17 | 60 |
17. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจ่ายเป็นค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารในกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เป็นจำนวนเงิน 1,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มโรงเรียนเครือข่าย 9 (พนา) จำนวน 40 คน และผู้ปกครองนักเรียน 20 คน
|
110 | 60 |
18. กิจกรรมบูรณาการการเกษตรสหกรณ์โภชนาการสู่การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจ่ายเป็นค่าจ้างเหมาทำอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มในกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เป็นจำนวนเงิน 2,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 60 |
19. กิจกรรมนิเทศ กำกับติดตาม และรายงาน |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจ่ายค่าวัสดุในกิจกรรมนิเทศ กำกับติดตาม และรายงาน เป็นจำนวนเงิน 1,200 บาท จ่ายค่าจ้างเหมาอาหาร เป็นจำนวนเงิน 600 บาท ค่าวัสดุในการอบรม จำนวนเงิน 490 บาท และค่าถายเอกสาร 110 บาท ในการทำกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการขยายผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมที่ตัวเองรับผิดชอบ หาวิธีการดำเนินตามโครงการให้เป็นโครงการที่ยั่งยืน
|
7 | 7 |
20. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการจำนวน 31.68
|
3 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์สมวัย ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี 1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกิน 5 % 2. ภาวะผอม ไม่เกิน 5 % 3. ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 6 % ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี) 4. นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก วันละประมาณ 6000 กรัมอนุบาล3 ช้อน (50 กรัม) ประถม 4 ช้อน ( 70 กรัม) ผลไม้ (อนุบาล 0.5 ส่วนประถม 1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน |
|
|||
2 | 2. เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทักษะด้านการเกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง 2. นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 4. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี 5. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 6. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส |
|
|||
3 | 3. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนและสามารถพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั้งภายในและภายนอกได้ ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : 1. นักเรียนโรงเรียนโนนสูงโคกกลางมีทุพโภชนาการลดลง 2. โรงเรียนพัฒนาเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนทั้งในและนอกโรงเรียนได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์สมวัย (2) 2. เพื่อจัดการเรียนรู้บูรณาการ เกษตรในโรงเรียนโดยการปฏิบัติจริง (3) 3. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนและสามารถพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนทั้งภายในและภายนอกได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง
รหัสโครงการ ศรร.1311-088 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.42 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การจัดกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่หลากหลายและเน้นให้ผู้เรียนและครูมีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยแน้นกิจกรรมที่ทุกคนได้ลงมือปฏิบัติเช่นการทำนาข้าวไร้ซ์เบอรรี การปลูกกล้วยน้ำหว้า แก้วมังกร มะนาว พืชผักสวนครัว การเลี้ยงเห็ด เลี้ยงไก่พันธ์ไข่เลี้ยงปลา และเลี้ยงเป็ด
รายละเอียดการดำเนินงาน
๑. ประชุมครู เพื่อร่วมกันเสนอกิจกรรมที่จะดำเนินงานตลอดจนผู้รับผิดชอบ จากนั้นประชุมชี้แจงแก่ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา
๒. ครูุออกแบบกิจกรรมการดำเนินงาน กำหนดเป็นแผนและปฏิทิน
๓. จัดกิจกรรมตามแผนหรือปฏิทินที่กำหนดโดยเน้นการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning คือเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติและมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่ได้ส่งต่อให้โครงการอาหารกลางวันเพื่อนำไปประกอบอาหารให้นักเรียน
๔. ผู้บริหารนิเทศติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
๕. ครูและผู้บริหารร่วมกันประเมินทบทวน AARและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการจัดกิจกรรมร่วมกัน
๖. ประเมินสรุปผลการดำเนินงาน
๑. พัฒนาต่อยอดในทุกกิจกรรมให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน
๒. ขยายปริมาณการผลิตเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนให้มากขึ้นจนสามารถ จำหน่ายแก่ชุมชนเพื่อเป็นรายได้แก่นักเรียนและโรงเรียน
๓. จัดกิจกรรมเปิดบ้านเพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานเพื่อขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย หน่วยงานต้นสังกัดและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เป็นกิจกรรมที่เปิดดำเนินการขึ้นเพื้อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักการทำบัญชี การบริหารการเงิน และประโยชน์ของการมีกลุ่มสหกรณ์ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
๑. อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานสหกรณ์แก่นักเรียนและคุณครูผู้รับผิดชอบ
๒. จัดหาห้องและอุปกรณ์การจัดตั้งสหกรณ์โรงเรียน
๓. เปิดระดมหุ้นสหกรณ์จากครูและนักเรียน
๔. ดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียนโดยเปิดจำหน่ายทุกวันในเวลา ๐๗.๐๐-๐๗.๕๐และ ๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐
๕. นักเรียนจะนำผลผลิตทางการเกษตรที่มีในโรงเรียนมาจำหน่วยแก่สหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์ขายต่อแก่โครงการอาหารกลางวัน เป็นการหมุนเวียนทุนภายในโรงเรียน นักเรียนได้เห็นผลจากการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของการจัดกิจกรรมเกษตรต่างๆในโรงเรียน
๕. ผู้บริหารนิเทศติดตาม คณะกรรมการสหกรณ์มีการรายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมครูอย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆอย่างน้อยเดือนละครั้ง
๖. เมื่อสิ้นปีคณะกรรมการทำการสรุปบัญชีเพื่อปันผลสหกรณ์คืนให้แก่สมาชิก
๗. เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการสรุปรายงานผลการดำเนินงานเสนอต่อผู้บริหาร
ในปีการศึกษาหน้าโรงเรียนมีแนวคิดจะเปิดสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการประหยัดและอดออมเห็นคุณค่าของการออมเงิน และอีกหนึ่งกิจกรรมคือธนาคารความดี จะเปิดบริการในรูปให้นักเรียนให้มาฝากว่าวันนี้ทำความดีอะไร ทำครบ๑๐ ครั้งได้รับโบว์๑อันสะสมความดีใครครบร้อยครั้งจะได้เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดอบรมนักเรียนเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะภายใต้ชื่อกิจกรรมสุขาภิบาลดีชีวีปลอดภัยการจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม School lunch .
มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องสุขนิสัยในการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน และการจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม School lunch . ซึ่งสามารถจัดบริการอาหารให้นักเรียนได้ครบตามสัดส่วนโภชนาการ นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดย บางวันจะมาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยแม่ครัวประกอบอาหาร และทุกวันจะมีเวรคณะกรรมการนักเรียนมาตักอาหารบริหารแก่นักเรียนซึ่งนักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวัน ได้รับสารอาหารครบทุกหมู่ทำให้มีภาวะโภชนาการที่ดี ตามเกณฑ์ ในส่วนอาหารกลางวันวัตถุดิบที่นำมาประกอบอาหารส่วนหนึ่งได้จากโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนจึงทำให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ได้จากวัตถุดิบในโรงเรียน ผักหรือผลไม้ก็เป็นผลไม้ปลอดสาร
จะพัฒนารูปแบบการจัดทำอาหารกลางวันโดยเน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมมากขึ้นแต่ไม่เป็นการเบียดบังเวลาเรียน คือจัดกิจกรรมบูรณาการสอนเรื่องการประกอบอาหารต่างๆ โดยบูรณาการในกลุ่มสระสุขศึกษาหรือโครงงานอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนได้เห็นประโยชน์และความสำคัญของการประกอบอาหารฝึกการคิดวิเคราะห์การนำเสนองานสามารถนำทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน
เป็นกิจกรรมที่ครูดำเนินการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียนอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้งเพื่อเป็นการติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของนักเรียน ตลอดจนการทดสอบสมรรถภาพนักเรียน เมื่อครูได้ผลการประเมินต่างๆก็จะนำมาบันทึกเป็นสารสนเทศเพื่อสะดวกในการนำผลการประเมินไปใช้ โดยครูกนำผลนี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์
จัดกิจกรรมออกกำลังกายประกอบเพลงให้แก่นักเรียนทุกเช้าก่อนเรียน ตลอดจนจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงโทษของโรคที่เกิดจากภาวะโดภชนาการเกินเช่นโรคอ้วนหรือเบาหวานเป็นต้น จะทำให้นักเรียนและผู้ปกครองมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร มีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
การสร้างเสริมสมรรถภาพทางด้านร่างกาย ( ออกกำลังกาย)
เป็นกิจกรรมที่กำหนดให้นักเรียนทุกคนได้แปรงฟันหลังจากรับประทานอาหารทุกวันในช่วงหลังรับประทานอาหารกลางวัน โดยครูติดตามเช็คทุกวัน นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมที่เชิญคุณหมอหมาตรวจสุขภาพฟันและสุขภาพทั้วไปของนักเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละครั้ง ในส่วนกิจกรรมออกกำลังกายนักเรียนจะออกกำลังทุกเช้าหลังเสร็จกิจกรรมหน้าเสาธง โดยมีครูเป็นผู้นำกายบริหาร และบางวันจะเป็นการเต้นประกอบเพลง
แนวทางการพัฒนาต่อยอดคือจะจัดกิจกรรมออกกำลังกายประกอบเพลงมาร์ชของโรงเรียน โดยให้ครูและนักเรียนร่วมกันคิดท่าทางประกอบเพลง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
อบรมขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมถึงเห็นประโยชน์ของขยะที่สามารถนำมาขายหรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ โดยมีรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
๑. การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะในโรงเรยน
๒. จัดหาจัดซื้อถังขยะแล้วให้นักเรียนช่วยกันทาสีเป็นรูปการ์ตูนตามใจชอบเช่นคิตตี้ โดเรม่อน เรโร่ะเป็นต้น
๓. จัดวางถังขยะตามจุดต่างๆในโรงเรียน
๔. รณรงค์ให้นักเรียนทิ้งขยะให้ถูกประเภท
๕ . ครูติดตามประเมินผลโดยตรวจเช็คว่านักเรียนทิ้งขยะถูกต้องตามประเภทหรือไม่
ในปีการศึกษาหน้าจะดำเนินการเปิดเป็นธนาคารขยะในรูปแบบที่สมบูรณ์โดย เปิดบริการรับซื้อขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง
รหัสโครงการ ศรร.1311-088 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.42 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การจัดกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่หลากหลายและเน้นให้ผู้เรียนและครูมีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยแน้นกิจกรรมที่ทุกคนได้ลงมือปฏิบัติเช่นการทำนาข้าวไร้ซ์เบอรรี การปลูกกล้วยน้ำหว้า แก้วมังกร มะนาว พืชผักสวนครัว การเลี้ยงเห็ด เลี้ยงไก่พันธ์ไข่เลี้ยงปลา และเลี้ยงเป็ด |
รายละเอียดการดำเนินงาน |
๑. พัฒนาต่อยอดในทุกกิจกรรมให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน ๒. ขยายปริมาณการผลิตเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนให้มากขึ้นจนสามารถ จำหน่ายแก่ชุมชนเพื่อเป็นรายได้แก่นักเรียนและโรงเรียน ๓. จัดกิจกรรมเปิดบ้านเพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานเพื่อขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย หน่วยงานต้นสังกัดและชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน |
กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เป็นกิจกรรมที่เปิดดำเนินการขึ้นเพื้อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักการทำบัญชี การบริหารการเงิน และประโยชน์ของการมีกลุ่มสหกรณ์ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ ๑. อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการดำเนินงานสหกรณ์แก่นักเรียนและคุณครูผู้รับผิดชอบ ๒. จัดหาห้องและอุปกรณ์การจัดตั้งสหกรณ์โรงเรียน ๓. เปิดระดมหุ้นสหกรณ์จากครูและนักเรียน ๔. ดำเนินการกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียนโดยเปิดจำหน่ายทุกวันในเวลา ๐๗.๐๐-๐๗.๕๐และ ๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐ ๕. นักเรียนจะนำผลผลิตทางการเกษตรที่มีในโรงเรียนมาจำหน่วยแก่สหกรณ์เพื่อให้สหกรณ์ขายต่อแก่โครงการอาหารกลางวัน เป็นการหมุนเวียนทุนภายในโรงเรียน นักเรียนได้เห็นผลจากการดำเนินงานการมีส่วนร่วมของการจัดกิจกรรมเกษตรต่างๆในโรงเรียน ๕. ผู้บริหารนิเทศติดตาม คณะกรรมการสหกรณ์มีการรายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมครูอย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆอย่างน้อยเดือนละครั้ง ๖. เมื่อสิ้นปีคณะกรรมการทำการสรุปบัญชีเพื่อปันผลสหกรณ์คืนให้แก่สมาชิก ๗. เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการสรุปรายงานผลการดำเนินงานเสนอต่อผู้บริหาร |
ในปีการศึกษาหน้าโรงเรียนมีแนวคิดจะเปิดสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการประหยัดและอดออมเห็นคุณค่าของการออมเงิน และอีกหนึ่งกิจกรรมคือธนาคารความดี จะเปิดบริการในรูปให้นักเรียนให้มาฝากว่าวันนี้ทำความดีอะไร ทำครบ๑๐ ครั้งได้รับโบว์๑อันสะสมความดีใครครบร้อยครั้งจะได้เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การจัดอบรมนักเรียนเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะภายใต้ชื่อกิจกรรมสุขาภิบาลดีชีวีปลอดภัยการจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม School lunch . |
มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องสุขนิสัยในการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน และการจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม School lunch . ซึ่งสามารถจัดบริการอาหารให้นักเรียนได้ครบตามสัดส่วนโภชนาการ นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดย บางวันจะมาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยแม่ครัวประกอบอาหาร และทุกวันจะมีเวรคณะกรรมการนักเรียนมาตักอาหารบริหารแก่นักเรียนซึ่งนักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวัน ได้รับสารอาหารครบทุกหมู่ทำให้มีภาวะโภชนาการที่ดี ตามเกณฑ์ ในส่วนอาหารกลางวันวัตถุดิบที่นำมาประกอบอาหารส่วนหนึ่งได้จากโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันในโรงเรียนจึงทำให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ได้จากวัตถุดิบในโรงเรียน ผักหรือผลไม้ก็เป็นผลไม้ปลอดสาร |
จะพัฒนารูปแบบการจัดทำอาหารกลางวันโดยเน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมมากขึ้นแต่ไม่เป็นการเบียดบังเวลาเรียน คือจัดกิจกรรมบูรณาการสอนเรื่องการประกอบอาหารต่างๆ โดยบูรณาการในกลุ่มสระสุขศึกษาหรือโครงงานอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนได้เห็นประโยชน์และความสำคัญของการประกอบอาหารฝึกการคิดวิเคราะห์การนำเสนองานสามารถนำทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน |
เป็นกิจกรรมที่ครูดำเนินการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียนอย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้งเพื่อเป็นการติดตามพัฒนาการการเจริญเติบโตของนักเรียน ตลอดจนการทดสอบสมรรถภาพนักเรียน เมื่อครูได้ผลการประเมินต่างๆก็จะนำมาบันทึกเป็นสารสนเทศเพื่อสะดวกในการนำผลการประเมินไปใช้ โดยครูกนำผลนี้มาเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมตามเกณฑ์ |
จัดกิจกรรมออกกำลังกายประกอบเพลงให้แก่นักเรียนทุกเช้าก่อนเรียน ตลอดจนจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถึงโทษของโรคที่เกิดจากภาวะโดภชนาการเกินเช่นโรคอ้วนหรือเบาหวานเป็นต้น จะทำให้นักเรียนและผู้ปกครองมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร มีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรค |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | การสร้างเสริมสมรรถภาพทางด้านร่างกาย ( ออกกำลังกาย) |
เป็นกิจกรรมที่กำหนดให้นักเรียนทุกคนได้แปรงฟันหลังจากรับประทานอาหารทุกวันในช่วงหลังรับประทานอาหารกลางวัน โดยครูติดตามเช็คทุกวัน นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมที่เชิญคุณหมอหมาตรวจสุขภาพฟันและสุขภาพทั้วไปของนักเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละครั้ง ในส่วนกิจกรรมออกกำลังกายนักเรียนจะออกกำลังทุกเช้าหลังเสร็จกิจกรรมหน้าเสาธง โดยมีครูเป็นผู้นำกายบริหาร และบางวันจะเป็นการเต้นประกอบเพลง |
แนวทางการพัฒนาต่อยอดคือจะจัดกิจกรรมออกกำลังกายประกอบเพลงมาร์ชของโรงเรียน โดยให้ครูและนักเรียนร่วมกันคิดท่าทางประกอบเพลง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | อบรมขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและการพัฒนาสิ่งแวดล้อม |
เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมถึงเห็นประโยชน์ของขยะที่สามารถนำมาขายหรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ โดยมีรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ ๑. การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะในโรงเรยน ๒. จัดหาจัดซื้อถังขยะแล้วให้นักเรียนช่วยกันทาสีเป็นรูปการ์ตูนตามใจชอบเช่นคิตตี้ โดเรม่อน เรโร่ะเป็นต้น ๓. จัดวางถังขยะตามจุดต่างๆในโรงเรียน ๔. รณรงค์ให้นักเรียนทิ้งขยะให้ถูกประเภท ๕ . ครูติดตามประเมินผลโดยตรวจเช็คว่านักเรียนทิ้งขยะถูกต้องตามประเภทหรือไม่ |
ในปีการศึกษาหน้าจะดำเนินการเปิดเป็นธนาคารขยะในรูปแบบที่สมบูรณ์โดย เปิดบริการรับซื้อขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ในชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนโนนสูงโคกกลาง จังหวัด อำนาจเจริญ
รหัสโครงการ ศรร.1311-088
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิจิตรา ทัพซ้าย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......