แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ”
หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี
หัวหน้าโครงการ
นางอัจฉราภรณ์ ศรีบุตตะ
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ
ที่อยู่ หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี จังหวัด อุดรธานี
รหัสโครงการ ศรร.1312-058 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จังหวัดอุดรธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี รหัสโครงการ ศรร.1312-058 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 190 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ
การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง
เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยเรียน นักเรียนโรงเรียนบ้านดอนเดื่อมีปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อย ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องและที่สำคัญรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมุ่
หลังจากโรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ได้เข้าร่วมโครงการจึงได้จัดโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันซึ่งมีกิจกรรมหลายอย่าง เช่น กิจกรรมการปลูกพืชผักตามฤดูกาลการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่การเพาะเห็ดการเลี้ยงปลาในบ่อดินการเลี้ยงกบการปลูกกล้วยหอมทอง กิจกรรมหนึ่งคนหนึ่งท่อ การปลูกกล้วยการทำสวนสมุนไพรฯลฯ นอกจากนั้นยังได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนอาหารปลอดภัยปลอดโรคโครงการศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโครงการเด็กกินอิ่มเรายิ้มได้โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย หลังจากการดำเนินโครงการต่างๆ ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
- เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำเนินชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญญาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนตระหนักรู้ ตื่นตัวและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนานักเรียนในด้านต่างๆช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและเข้มแข็งให้กับครอบครัวและท้องถิ่นตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การทำน้ำสมุนไพร
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
น้ำสมุนไพร ประกอบด้วยน้ำตะไคร้ ใบเตย อัญชัน กระเจี๊ยบ และน้ำมะตูม ในการทำเราจะทำน้ำสมุนไพร จะทำสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 1-3 ชนิด
วิธีการทำอยู่ในไฟล์ที่แนบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้องค์ความรู้ และการทำน้ำสมุนไพร
- ในการทำน้ำสมุนไพรแต่ละครั้ง จะได้น้ำสมุนไพรชนิดละประมาณ 25-30 ขวด
- ได้แผ่นพับวิธีการทำน้ำดื่มสมุนไพร จำนวน50แผ่น
27
27
2. การเลี้ยงปลาในบ่อดิน
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะทำงาน ผู้ปกครอง ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
- ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา โดยวิทยากรท้องถิ่น
- แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบในการขุดบ่อดิน
- สั่งซื้อปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียน และอาหารปลา
- นักเรียนนำปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียน ปล่อยลงในบ่อ
- นักเรียนที่รับผิดชอบให้อาหารปลา อย่างสม่ำเสมอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาในบ่อดิน และการดูแลรักษา
- ได้บ่อปลา จำนวน 6 บ่อ
- ได้ปลาดุก ปลานิล ปลาตะเพียนอย่างละ 1,000 ตัว
110
110
3. การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะทำงาน ผู้ปกครอง ครู นักเรียน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (2 มิ.ย.59)
- ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่พันธ์ุไข่ โดยวิทยากรท้องถิ่น (3 มิ.ย.59)
- สั่งซื้ออุปกรณ์ ยารักษาโรค วัคซีน และอาหารไก่
- นักเรียนดำเนินการดูแลรักษา ให้ยารักษาโรค วัคซีน และอาหารไก่ อย่างสม่ำเสมอ
- นักเรียนที่รับผิดชอบเก็บไข่ เพื่อส่งสหกรณ์นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้องค์ความรู้ในเรื่องการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ และการดูแลรักษา
- ได้วัสดุอุปกรณ์ (ถังน้ำ ลางอาหาร ลางน้ำ ยารักษาโรค และอาหาร )
76
76
4. การปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดูกาล
วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สร้างองค์ความรู้การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้โดยวิทยากรท้องถิ่น 16 มิย.
- เตรียมพื้นที่เพาะปลูก โดยแบ่งเป็นแปลง จำนวน 8 แปลง และแบบท่อจำนวน 24 ท่อ
- นักเรียนทำการเพาะปลูกผักสวนครัว เช่น ผักบุ้ง ถั่ว ผักชี เป็นต้น
- นักเรียนรดน้ำทุกวัน ดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ
- เก็บเกี่ยวผลผลิต จัดจำหน่ายสหกรณ์โรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้องค์ความรู้เรื่องการปลูกพืชผักสวนครัว และการดูแลรักษา
- ได้ผักสวนครัว อาทิตย์ละประมาณ 10 กิโลกรัม เพื่อใช้ประกอบอาหาร
112
78
5. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน
วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำเอกสารการเยี่ยมบ้านนักเรียน
- ออกเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยดูสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริง และสอบถามผู้ปกครองนักเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมต่างๆของนักเรียน พร้อมบันทึกตามเอกสาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครูผู้รับผิดชอบได้เห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของนักเรียนและผู้ปกครอง
- นำข้อมูลที่ได้มาช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาทางด้านต่างๆ
22
28
6. สอส.นัด ตรวจรายงานโครงการ
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มาตรวจรายงานความก้าวหน้าโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อเสนอแนะ และได้ทราบวิธีการจัดทำที่ถูกต้อง
0
2
7. การเพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมแบ่งกลุ่มผู้ปกครองนักเรียนและนักเรียนตามความสนใจและความถนัด โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 2.การปลูกพืชหมุนเวียนตามฤดูกาล 3.การปลูกเห็ดนางฟ้า 4.การเลี้ยงปลาในบ่อดิน 5.การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง
- นำวิทยากรท้องถิ่นที่มีความเชี่ยวชาญทางการเกษตรด้านต่างๆมาให้ความรู้ ขั้นตอน วิธีการและการดูแลรักษา มาให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
- ผู้ปกครองและนักเรียนที่แบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้ว ลงมือปฏิบัติกิจกรรม
4.ผู้ปกครองและนักเรียน ช่วยกันดูแลจนสามารถบริโภคและจำหน่ายได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชุมคณะทำงาน ผู้ปกครอง นัเรียน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
2.ให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ด การเก็บ การดูแลรักษา โดยวิทยากรท้องถิ่น
3.สั่งซื้อก้อนเห็ด
4.นักเรียนดำเนินการดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ นักเรียนที่รับผิดชอบเก็บเห็ดเพื่อส่งสหกรณ์นักเรียน เพื่อเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
98
98
8. การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.สร้างองค์ความรู้การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง โดยวิทยากรท้องถิ่น
2.เตรียมพื้นที่เพาะปลูก โดยแบ่งเป็นแปลง จำนวน 10 แปลง แปลงละ 10 ต้น
3.นักเรียนทำการปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง
4.นักเรียนรดน้ำทุกวัน ดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ
5.เก็บเกี่ยวผลผลิต จัดจำหน่ายสหกรณ์โรงเรียน และเข้าสู่อาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้องค์ความรู้การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง และลงมือปฎิบัติ
105
103
9. ส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกาย
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมสัปดาห์ละ ๓ วัน วันละ ๑ ชั่วโมง - จัดกิจกรรมตามแผน ได้แก่ กิจกรรมแอโรบิก กิจกรรมกระโดดเชือก กิจกรรมกีฬาสี - กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว
-จัดประกวด กิจกรรมเต้นแอโรบิก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี
- เด็กได้ร่วมกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน และเกิดความสามัคคี
3.ได้ทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน
252
290
10. สหกรณ์นักเรียน
วันที่ 14 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุม แต่งตั้งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่สหกรณ์ และเวรประจำวัน
2.ทุกวันพฤหัสบดีของสัปดาห์ นักเรียนนำผลผลิตจากโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันบางส่วนออกขายที่ตลาดนัดชุมชน
3.บันทึกกิจกรรมรายรับรายจ่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ เช่น การทำงานร่วมกัน การประชุม การทำบัญชี การค้าขาย
124
122
11. ประชุม อบรม ชี้แจงให้ ความรู้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ผู้ปกครองและผู้ที่เข้ารับการอบรมลงทะเบียน
2.ผู้ปกครองรับฟังการประชุม อบรม ชี้แจง เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กโดยนำระบบ Thai School Lunch โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองได้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กโดยนำระบบ Thai School Lunch โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
380
322
12. คืนดอกเบี่ยปิดบัญชีโครงการ
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้คืนดอกเบี้ยเรียบร้อย
0
0
13. สอส. นัดตรวจโครงการงวดที่2
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการและรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการและรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ เสร็จเรียบร้อย สามารถขอเบิกงวด 3 และปิดโครงการได้
2
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์โดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีเครือข่าย
2. โรงเรียนนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนปรุง ประกอบอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและปลอดภัย
3. โรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชนเป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีด้านอาหารแก่นักเรียนตามหลักโภชนาการอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
โรงเรียนได้ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์โดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีเครือข่าย
โรงเรียนมีการนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนปรุง ประกอบอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและปลอดภัย
นักเรียนได้รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
2
เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการด้านอาหารและสุขภาพของนักเรียน
2. ผู้ปกครอง ชุมชนมีส่วนในการเสริมสร้างภาวะโภชนาการที่ถูกต้องแก่นักเรียนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน
3. ผู้ปกครอง ชุมชนให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานทุกกิจกรรมจนเกิดความมั่นคงทางอาหารทั้งที่บ้านและโรงเรียน นักเรียนในศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสมีสุขภาวะที่ดี
4. โรงเรียนบ้านดอนเดื่อบริหารจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร
ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการด้านอาหารและสุขภาพของนักเรียนมีส่วนในการเสริมสร้างภาวะโภชนาการที่ถูกต้องแก่นักเรียนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงสมวัย
3
เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการครบ ๘ องค์ประกอบ โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
2. โรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีความร่วมมือต่าง ๆ ให้บริการแก่ผู้สนใจในศูนย์เรียนรู้ต้นแยบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.)อย่างมีคุณภาพ
โรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีความร่วมมือต่าง ๆ ให้บริการแก่ผู้สนใจในศูนย์เรียนรู้ต้นแยบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.)อย่างมีคุณภาพ
4
พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่
ตัวชี้วัด : ขยายผลไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย โรงเรียน
โรงเรียนได้ขยายผลการดำเนินงานไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ (2) เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ
รหัสโครงการ ศรร.1312-058 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
- อุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
- การปลูกพืชไร้ดิน
1.รายละเอียดกิจกรรมอุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
- นำไม้ไผ่มาสานเป็นอุโมงค์ จำนวน 2 อุโมงค์
- ปลูกผักไม้เลื้อย เช่น บวบ
- ครูให้ความรู้ เรื่องการปลูก การดูแลรักษา แะแบ่งให้นักเรียนรับผิดชอบดูแล
- นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสุขในการทำ
หลักฐาน ภาพถ่ายกิจกรรม
2. รายละเอียดกิจกรรมการปลูกผักไร้ดิน
- ทำรางโดยใช้ท่อพีวีซี เพื่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ
- นำพืชมาปลูก ตามรางข้างต้น โดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ ครูผู้รับผิดชอบแนะนำ
- จุดเด่น นักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นนวัตกรรมใหม่ ซึ่งเป็นการปลูกพืชที่ไม่ต้องใช้ดิน และไม่ใช้น้ำเยอะ ได้ผลิตเร็วและเยอะ
ขยายผลต่อผู้ปกครองและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
1.กิจกรรมสหกรณ์ร่วมมือร่วมใจ แก้มใสบริการ
1.รายละเอียดกิจกรรม
- รับซื้อผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนเข้าสู่ระบบสหกรณ์
- นำผลผลิตออกจำหน่ายตลาดชุมชนทุกวันพฤหัสบดี
จุดเด่น
- นักเรียนได้เรียนรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์
- นักเรียนได้เรียนรู้มิติของการตลาดในการจัดหาสิ่งของมาขาย
นักเรียนแกนนำ ให้ความรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์แก่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.อาหารปลอดภัย แก้มใสเริงร่า
รายละเอียดของกิจกรรม
1. นำผลผลิตของโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
2. โดยนำโปรแกรม Thai school lunch มาช่วยในการกำหนดเมนูอาหาร
3. ประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนอย่างเพียงพอ
จุดเด่น
- ชุมชนนำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษมาประกอบอาหาร
- นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เพียงพอและเหมาะสม
ให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch แก่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
1.กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร
รายละเอียดของกิจกรรม
- นักเรียนรับประทานอาหารกลางวัน 11.30-12.20 น.
- หลังจางจากรับทานอาหารเสร็จ นักเรียนทุกคนแปรงฟันพร้อมกัน 12.20-12.30 น. โดยมีครูที่ปรึกษาควบคุมดูแล
จัดกิจกรรมประกวดฟันสวย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
1.กิจกรรมตาวิเศษ
รายละเอียดกิจกรรม
1. กำหนดบริเวณที่นักเรียนเก็บขยะ
- บ่อทราย
- สนามนอกอาคารทั้ง 2 ด้าน
- ภายในอาคารเรียน
2. กำหนดเวลาเก็บขยะ
-ประเมินกิจกรรมหน้าเสาธงเวลา 08.30 – 08.35 น.
3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งสรุปรายงานทุกเดือน
สิงที่ได้รับ
1. นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน
2.นักเรียนรู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ให้นักเรียนรู้จักแยกขยะเพื่อทำให้เกิดรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จังหวัด อุดรธานี
รหัสโครงการ ศรร.1312-058
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอัจฉราภรณ์ ศรีบุตตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ”
หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี
หัวหน้าโครงการ
นางอัจฉราภรณ์ ศรีบุตตะ
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี จังหวัด อุดรธานี
รหัสโครงการ ศรร.1312-058 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จังหวัดอุดรธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 9 ตำบลบ้านโคก อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี รหัสโครงการ ศรร.1312-058 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 190 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง
เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยเรียน นักเรียนโรงเรียนบ้านดอนเดื่อมีปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อย ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องและที่สำคัญรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมุ่
หลังจากโรงเรียนบ้านดอนเดื่อ ได้เข้าร่วมโครงการจึงได้จัดโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันซึ่งมีกิจกรรมหลายอย่าง เช่น กิจกรรมการปลูกพืชผักตามฤดูกาลการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่การเพาะเห็ดการเลี้ยงปลาในบ่อดินการเลี้ยงกบการปลูกกล้วยหอมทอง กิจกรรมหนึ่งคนหนึ่งท่อ การปลูกกล้วยการทำสวนสมุนไพรฯลฯ นอกจากนั้นยังได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนอาหารปลอดภัยปลอดโรคโครงการศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโครงการเด็กกินอิ่มเรายิ้มได้โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย หลังจากการดำเนินโครงการต่างๆ ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
- เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำเนินชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญญาโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนตระหนักรู้ ตื่นตัวและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนานักเรียนในด้านต่างๆช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและเข้มแข็งให้กับครอบครัวและท้องถิ่นตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การทำน้ำสมุนไพร |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำน้ำสมุนไพร ประกอบด้วยน้ำตะไคร้ ใบเตย อัญชัน กระเจี๊ยบ และน้ำมะตูม ในการทำเราจะทำน้ำสมุนไพร จะทำสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 1-3 ชนิด วิธีการทำอยู่ในไฟล์ที่แนบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
27 | 27 |
2. การเลี้ยงปลาในบ่อดิน |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
110 | 110 |
3. การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
76 | 76 |
4. การปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดูกาล |
||
วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
112 | 78 |
5. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน |
||
วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
22 | 28 |
6. สอส.นัด ตรวจรายงานโครงการ |
||
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมาตรวจรายงานความก้าวหน้าโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อเสนอแนะ และได้ทราบวิธีการจัดทำที่ถูกต้อง
|
0 | 2 |
7. การเพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชุมคณะทำงาน ผู้ปกครอง นัเรียน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2.ให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ด การเก็บ การดูแลรักษา โดยวิทยากรท้องถิ่น 3.สั่งซื้อก้อนเห็ด 4.นักเรียนดำเนินการดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ นักเรียนที่รับผิดชอบเก็บเห็ดเพื่อส่งสหกรณ์นักเรียน เพื่อเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
|
98 | 98 |
8. การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง |
||
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.สร้างองค์ความรู้การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง โดยวิทยากรท้องถิ่น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้องค์ความรู้การปลูกกล้วยน้ำว้าและกล้วยหอมทอง และลงมือปฎิบัติ
|
105 | 103 |
9. ส่งเสริมกิจกรรมการออกกำลังกาย |
||
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ ๓ วัน วันละ ๑ ชั่วโมง - จัดกิจกรรมตามแผน ได้แก่ กิจกรรมแอโรบิก กิจกรรมกระโดดเชือก กิจกรรมกีฬาสี - กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
252 | 290 |
10. สหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 14 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุม แต่งตั้งคณะกรรมการเจ้าหน้าที่สหกรณ์ และเวรประจำวัน 2.ทุกวันพฤหัสบดีของสัปดาห์ นักเรียนนำผลผลิตจากโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันบางส่วนออกขายที่ตลาดนัดชุมชน 3.บันทึกกิจกรรมรายรับรายจ่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ เช่น การทำงานร่วมกัน การประชุม การทำบัญชี การค้าขาย
|
124 | 122 |
11. ประชุม อบรม ชี้แจงให้ ความรู้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ผู้ปกครองและผู้ที่เข้ารับการอบรมลงทะเบียน 2.ผู้ปกครองรับฟังการประชุม อบรม ชี้แจง เกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กโดยนำระบบ Thai School Lunch โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองได้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กโดยนำระบบ Thai School Lunch โดยวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
|
380 | 322 |
12. คืนดอกเบี่ยปิดบัญชีโครงการ |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยปิดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้คืนดอกเบี้ยเรียบร้อย
|
0 | 0 |
13. สอส. นัดตรวจโครงการงวดที่2 |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการและรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการและรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ เสร็จเรียบร้อย สามารถขอเบิกงวด 3 และปิดโครงการได้
|
2 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์โดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีเครือข่าย 2. โรงเรียนนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนปรุง ประกอบอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและปลอดภัย 3. โรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชนเป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีด้านอาหารแก่นักเรียนตามหลักโภชนาการอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน |
โรงเรียนได้ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์โดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีเครือข่าย โรงเรียนมีการนำ Thai School Lunch Program มาวางแผนปรุง ประกอบอาหารกลางวันถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและปลอดภัย นักเรียนได้รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการอย่างต่อเนื่องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน |
|||
2 | เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการด้านอาหารและสุขภาพของนักเรียน 2. ผู้ปกครอง ชุมชนมีส่วนในการเสริมสร้างภาวะโภชนาการที่ถูกต้องแก่นักเรียนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน 3. ผู้ปกครอง ชุมชนให้ความร่วมมือ สนับสนุนการดำเนินงานทุกกิจกรรมจนเกิดความมั่นคงทางอาหารทั้งที่บ้านและโรงเรียน นักเรียนในศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสมีสุขภาวะที่ดี 4. โรงเรียนบ้านดอนเดื่อบริหารจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจร |
ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการด้านอาหารและสุขภาพของนักเรียนมีส่วนในการเสริมสร้างภาวะโภชนาการที่ถูกต้องแก่นักเรียนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงสมวัย |
|||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการครบ ๘ องค์ประกอบ โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส 2. โรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีความร่วมมือต่าง ๆ ให้บริการแก่ผู้สนใจในศูนย์เรียนรู้ต้นแยบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.)อย่างมีคุณภาพ |
โรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีความร่วมมือต่าง ๆ ให้บริการแก่ผู้สนใจในศูนย์เรียนรู้ต้นแยบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.)อย่างมีคุณภาพ |
|||
4 | พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่ ตัวชี้วัด : ขยายผลไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย โรงเรียน |
โรงเรียนได้ขยายผลการดำเนินงานไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารบริโภคและถูกหลักโภชนาการ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ (2) เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริม ความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน มีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพของนักเรียนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) พื่อขยายผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่โรงเรียนเครือข่ายธรรมฐิติญาณ จำนวน โรงเรียน ได้แก่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ
รหัสโครงการ ศรร.1312-058 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
- อุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
- การปลูกพืชไร้ดิน
1.รายละเอียดกิจกรรมอุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
- นำไม้ไผ่มาสานเป็นอุโมงค์ จำนวน 2 อุโมงค์
- ปลูกผักไม้เลื้อย เช่น บวบ
- ครูให้ความรู้ เรื่องการปลูก การดูแลรักษา แะแบ่งให้นักเรียนรับผิดชอบดูแล
- นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความสุขในการทำ
หลักฐาน ภาพถ่ายกิจกรรม
2. รายละเอียดกิจกรรมการปลูกผักไร้ดิน
- ทำรางโดยใช้ท่อพีวีซี เพื่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ
- นำพืชมาปลูก ตามรางข้างต้น โดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ ครูผู้รับผิดชอบแนะนำ
- จุดเด่น นักเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเป็นนวัตกรรมใหม่ ซึ่งเป็นการปลูกพืชที่ไม่ต้องใช้ดิน และไม่ใช้น้ำเยอะ ได้ผลิตเร็วและเยอะ
ขยายผลต่อผู้ปกครองและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
1.กิจกรรมสหกรณ์ร่วมมือร่วมใจ แก้มใสบริการ
1.รายละเอียดกิจกรรม
- รับซื้อผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนเข้าสู่ระบบสหกรณ์
- นำผลผลิตออกจำหน่ายตลาดชุมชนทุกวันพฤหัสบดี
จุดเด่น
- นักเรียนได้เรียนรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์
- นักเรียนได้เรียนรู้มิติของการตลาดในการจัดหาสิ่งของมาขาย
นักเรียนแกนนำ ให้ความรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์แก่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.อาหารปลอดภัย แก้มใสเริงร่า
รายละเอียดของกิจกรรม
1. นำผลผลิตของโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
2. โดยนำโปรแกรม Thai school lunch มาช่วยในการกำหนดเมนูอาหาร
3. ประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนอย่างเพียงพอ
จุดเด่น
- ชุมชนนำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษมาประกอบอาหาร
- นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย เพียงพอและเหมาะสม
ให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch แก่โรงเรียนเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
1.กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร
รายละเอียดของกิจกรรม
- นักเรียนรับประทานอาหารกลางวัน 11.30-12.20 น.
- หลังจางจากรับทานอาหารเสร็จ นักเรียนทุกคนแปรงฟันพร้อมกัน 12.20-12.30 น. โดยมีครูที่ปรึกษาควบคุมดูแล
จัดกิจกรรมประกวดฟันสวย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
1.กิจกรรมตาวิเศษ
รายละเอียดกิจกรรม
1. กำหนดบริเวณที่นักเรียนเก็บขยะ
- บ่อทราย
- สนามนอกอาคารทั้ง 2 ด้าน
- ภายในอาคารเรียน
2. กำหนดเวลาเก็บขยะ
-ประเมินกิจกรรมหน้าเสาธงเวลา 08.30 – 08.35 น.
3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งสรุปรายงานทุกเดือน
สิงที่ได้รับ
1. นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน
2.นักเรียนรู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ให้นักเรียนรู้จักแยกขยะเพื่อทำให้เกิดรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ
รหัสโครงการ ศรร.1312-058 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.12 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
1.รายละเอียดกิจกรรมอุโมงค์เรียนรู้เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
- นำไม้ไผ่มาสานเป็นอุโมงค์ จำนวน 2 อุโมงค์
- ปลูกผักไม้เลื้อย เช่น บวบ |
ขยายผลต่อผู้ปกครองและชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | 1.กิจกรรมสหกรณ์ร่วมมือร่วมใจ แก้มใสบริการ |
1.รายละเอียดกิจกรรม
- รับซื้อผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนเข้าสู่ระบบสหกรณ์
- นำผลผลิตออกจำหน่ายตลาดชุมชนทุกวันพฤหัสบดี
จุดเด่น |
นักเรียนแกนนำ ให้ความรู้ระบบบัญชีรายรับ รายจ่ายของสหกรณ์แก่โรงเรียนเครือข่าย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | 1.อาหารปลอดภัย แก้มใสเริงร่า |
รายละเอียดของกิจกรรม
1. นำผลผลิตของโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันมาใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร |
ให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch แก่โรงเรียนเครือข่าย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | 1.กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร |
รายละเอียดของกิจกรรม - นักเรียนรับประทานอาหารกลางวัน 11.30-12.20 น. - หลังจางจากรับทานอาหารเสร็จ นักเรียนทุกคนแปรงฟันพร้อมกัน 12.20-12.30 น. โดยมีครูที่ปรึกษาควบคุมดูแล |
จัดกิจกรรมประกวดฟันสวย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | 1.กิจกรรมตาวิเศษ |
รายละเอียดกิจกรรม 1. กำหนดบริเวณที่นักเรียนเก็บขยะ - บ่อทราย - สนามนอกอาคารทั้ง 2 ด้าน - ภายในอาคารเรียน 2. กำหนดเวลาเก็บขยะ -ประเมินกิจกรรมหน้าเสาธงเวลา 08.30 – 08.35 น. 3. ประเมินผลการจัดกิจกรรมส่งสรุปรายงานทุกเดือน สิงที่ได้รับ 1. นักเรียนมีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน 2.นักเรียนรู้จักใช้และรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม |
ให้นักเรียนรู้จักแยกขยะเพื่อทำให้เกิดรายได้ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านดอนเดื่อ จังหวัด อุดรธานี
รหัสโครงการ ศรร.1312-058
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอัจฉราภรณ์ ศรีบุตตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......