แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ ”
หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์
หัวหน้าโครงการ
นายวิโรจน์ เหลือหลาย
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
ที่อยู่ หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-064 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.18
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ศรร.1312-064 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 268 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
- เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล การลดหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ
- เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
- เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
- เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เชพแก้มใสใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมย์สติปัญญาที่ดี มีทักษะชีวิตสามารถนำไใช้ได้จริง
2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการ ของนักเรียน
3.พ่อแม่/ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
4.เกิดกระแสตื่นตัวในชมขน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
บุคลากรได้รับการพัฒนาและอบรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการและนำความรู้ที่ได้มาปฎิบัติจริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-บุคลากรที่ดูแลโครงการ ได้เข้ารับการอบรมโรงเรียน ๒ คน
-บุคลากรได้รับการพัฒนาและอบรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ นำมาปฎิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2
4
2. จัดนิทรรศการเผยแพร่ ผลงาน “ต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส”
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการเด็กไทยแก้มใส ในงานหว่านวันแม่เก็บเกี่ยววันพ่อของอำเภอโนนดินแดง โดยในนิทรรศการนำเสนอโครงการเด็กไทยแก้มใส กิจกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ทั้ง 8 ด้าน ผลงานแก้มใสนักเรียน
ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนและเพื่อจำหน่าย สารสนเทศแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการเด็กไทยแก้มใสให้กับ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ทำให้ผู้เยี่ยมชมนิทรรศการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส
โดยในการจัดนิทรรศการครั้งนี้ได้รับความสนใจจากผู้เยี่ยมชมเป็นจำนวนมาก
400
430
3. ประชุมผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน และจัดทำหลักสูตร
วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมผู้ปกครอง ชมชน ชี้แจงนโยบาย
2.จัดทำหลักสูตร
- แก้มใสใส่ใจลูกเรา และทำ Swot ชุมชนสุขภาพ
- การสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส
- การจัดความรู้ด้านสุขภาพ/และการป้องกัน “ลดหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม”
- การปลูกพืชผักสวนครัว/ชุมชนปลอดขยะ
- การจัดทำเกณฑ์มาตรฐานครูแก้มใสต้นแบบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ เข้าใจนโยบายเด็กไทยแก้มใส และให้ความร่วมมือโดยเข้าร่วมเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
120
120
4. จัดอบรมการทำปุ๋ยหมัก
วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- อบรมการขยายพันธ์พืชโดยการเพาะชำ
- แปรรูปผลผลิตน้ำเพื่อสุขภาพ
- การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
- การทำผลิตภัณฑ์ครัวเรือน
- การทำปุ๋ยหมักน้ำ
- การทำปุ๋ยหมัก พด.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เข้าใจและมีความร้เกี่ยวกับ การขยายพันธ์พืช การแปรรูปผลผลิตน้ำเพื่อสุขภาพ การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การทำผลิตภัณฑ์ครัวเรือน การทำปุ๋ยหมักน้ำและปุ๋ยหมัก พด.
120
157
5. ขยายพืชผักสวนครัวสู่ ชุมชน
วันที่ 21 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดประชุมผู้ปกครองโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
-จัดแจกพันธุ์พืชให้ผู้ปกครองไปปลูกในครัวเรือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใสและการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพพร้อมกับได้พันธุ์พืชสำหรับไปปลูกขยายผลต่อในครัวเรื่อน
120
0
6. เพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดเตรียมโรงเก็บเห็ด
2.เพาะเห็ดนางฟ้า โดยใช้หัวเชื้อเห็ดก้อนจำนวน 500 ก้อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูและนักเรียนมีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า และสามารถนำผลผลิตจากเห็ดนางฟ้านำมาเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
140
140
7. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงิน งวด1
วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ตรวจสอบกิจกรรมย่อยของโครงการที่จัดเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้วจำนวน 5 โครงกาาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เอกสารและหลักฐานการจัดกิจกรรมต่างๆ ถกต้องครบถ้วน
4
4
8. การจัดการขยะในโรงเรียน
วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้จัดทำถังคัดแยกขยะพร้อมกับประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะให้กับนักเรียนและมีการจัดการขยะโดยใช้หลัก 3Rs
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสามารถคัดแยกขยะได้ รวมทั้งมีการนำขยะที่คัดแยกแล้วนำกลับไปใช้ประโยชน์อีกครั้ง
256
256
9. ปรับปรุงโรงอาหารและระบบกรองน้ำดื่ม
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ปรับปรุงโรงอาหาร โดยปูพื้นกระเบื้องโรงอาหาร จัดทำรั้วกั้น ทำอ่างล้างผักและจาน นำถาดหลุมมาใช้ ปรับปรุงระบบกรองน้ำดื่มโดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีโรงอาาหารที่สะอาดและถูกสุขลักษณะและน้ำดื่มที่สะอาดไว้บริการนักเรียน
256
256
10. ปลูกพืชผักสวนครัวและผลไม้
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนได้ลงมือปฎิบัติการปลูกพืชผักสวนครัวและผลไม้ภายในสวนเกษตรของโรงเรียนตามที่ได้แบ่งพื้นที่เพาะปลูกไว้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีทักษะในการปลูกพืชผักสวนครัวและผลไม้ โดยสามารถนำผลผลิตทางการเกษตรส่งต่อไปยังสหกรณ์และอาหารกลางวันนักเรียน
256
256
11. การเลี้ยงสัตว์
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนลงมือปฎิบัติเกี่ยวกับการเลี้ยงหมู หมูหลุม ไก่ไข่ เป็ด ห่าน จิ้งหรีด ไส้เดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนเกิดทักษะในการเลี้ยงสัตว์ชนิดต่างๆ และนำผลผลิตที่ได้ส่งไปยังสหกรณ์และอาหารกลางวันนักเรียน
256
256
12. อบรมการทำปุ๋ยหมักในชุมชน
วันที่ 28 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพให้กับชุมชน โดยการสาธิตและลงมือปฏิบัติจริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชาวบ้านในชุมชนสามารถทำปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อนำไปใช้ในงานเกษตรชุมชนได้
37
7
13. ชุมชนร่วมกันปลูกพืชผักสวนครัวสำหรับอาหารกลางวันนักเรียน
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ชุมชนร่วมกันปลูกพืชผักสวนครัวโดยใช้พื้นที่ในชุมชนสำหรับส่งผลผลิตไปยังสหกรณ์โรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวันให้นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผลผลิตจากการเกษตรในชุมชน ดดยมีพืชผักสวนครัวชนิดต่าง สามารถส่งไปยังสหกรณ์โรงเรียนได้
303
253
14. การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การทำปุ๋ยชีวภาพจากปุ๋ยหมัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ปุ๋ยชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตรโรงเรียน ช่วยลดต้นทุนในการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีอันตรายต่อสุขภาพของนักเรียน และยังสามารถนำไปใช้ปฎิบัติจริงที่บ้านของนักเรียน
140
120
15. งานอาชีพนักเรียน 1 ห้องเรียน ต่อ 1 อาชีพ
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการวางแผนการทำงาน เตรียมวัสดุอุปกรณ์ลงมือปฏิบัติจริงและสรุปผลการทำงานอาชีพนักเรียนร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรีนยนมีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกัยงานอาชีพ สามารถนำมาประยุกต์ ์ใช้ในการทำงาน มีทักษะกระบวนการในการทำงาน
สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาในการทำงาน ขยัน อดทน ประหยัด สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ตลอดจนมีความสามารถ
ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างมีจิตสำนึก
256
256
16. จัดอบรมให้กับครู นักเรียนในตำบลลำนางรองจำนวน 6 โรงเรียน
วันที่ 18 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์โดยหน่วยงานต่างๆเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ สสส. สาธารณะสุข เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าดงใหญ่ มูลนิธิสุภนิมิตร ผู้อำนวยการ คณะครูและนักเรียนทั้ง 6 โรงเรียน
วิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีโนนดินแดง ชุมชนและผู้ที่สนใจ โดยได้รับเกียรติจากสาธารณะสุขอำเภอเป็นประธานในพิธี ซึ่งในกิจกรรมมีการบรรยายพิเศษจากสาธารณะสุขอำเภอเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ภาวะโภชนาการ และการบรรยายพิเศษจากคุณจงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้จัดการโครงการเด็กไทยแก้มใส เกี่ยวกับแนะนำโครงการเด็กไทยแก้มใส และ 8 องค์ประกอบเด็กไทยแก้มใส รวมถึงการประชุมร่วมกันระหว่างเครือข่ายเด็กไทยแก้มใสเกี่ยวกับแผนการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เครือข่ายเด็กไทยแก้มใส ผู้อำนวยการ คณะครูและนักเรียนทั้ง 6 โรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือสนใจในการจัดกิจกรรมและจะยินดีที่จะดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
100
252
17. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมอาหารสุขภาพ
วันที่ 18 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
วิธีการแปรรูปอาหารขนมกล้วย การทำกล้วยอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนจัดแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตรและลดขนมกรุบกรอบ หวาน มัน กรอบ และนักเรียนได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ฝึกทักษะอาชีพ และส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างนิสัยในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
140
120
18. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงินงวด 2 และ จัดทำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
วันที่ 18 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รวบรวมจัดทำเอกสาร เข้าเล่มฉบับสมบูรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดทำรายงานให้กับโครงการและประชาสัมพันธ์โครงการให้เป็นที่รู้จักแก้สาธารณะชน
20
5
19. คืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
2
2
20. จัดนิทรรศการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการเผรแพร่และประชาสัมพันธ์การดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และผู้เข้าชมนิทรรศการ ได้รับความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสของโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
280
270
21. เชพแก้มใสใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนร่วมกับชุมชน ได้ใช้ผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน ในการประกอบอาหาร เพื่อแข่งขันและฝึกการประกอบอาหาร โดยใช้ผลผลิตที่เรามี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสามารถประกอบอาหารได้อย่างถูกสุขลักษณะ และมีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยใช้ผักที่นักเรียนปลูกเองมาประกอบอาหาร ทำให้นักเรียนมีความภูมิใจในสิ่งที่ตนเองทำ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
ตัวชี้วัด : ชุมชน-หน่วยงานสนับสนุนอย่างน้อย 5 หน่วยงาน
2
เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล การลดหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ
ตัวชี้วัด : สหกรณ์ร้านค้านักเรียนไม่จำหน่ายอาหาร มีรสหวาน มัน เค็ม นำ้อัดลมและขนมกรุบกรอบ 100%
3
เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนปลูกพืชผักสวนครัว และเลี้ยงเลี้ยงสัตว์ อย่างน้อย 1 อย่างทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน
4
เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
ตัวชี้วัด : โรงเรียนปลอดขยะมูลฝอย ห้องน้ำห้องครัวโรงอาหารสะอาด
5
เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ
ตัวชี้วัด : โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนสนใจแหล่งเรียนรู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 4 โรงเรียน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ (2) เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล การลดหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ (3) เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน (4) เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย (5) เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เชพแก้มใสใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
รหัสโครงการ ศรร.1312-064 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
1.ทำปุ่ยหมักชีวภาพ
2.ทำปุ๋ยหมักน้ำ
3.การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า
4.การเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch
1.วิธีทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากการนำเศษใบไม้ 1ตัน ขี้วัว 40 กก.นำมาวางทับกันเป็นกองให้ได้ 5 ชั้น แล้วนำสาร พด.(สารของหน่วยงานพัฒนาที่ดิน)1ซอง ผสมน้ำประมาณ 1 ผักบัว รดลงกองใบไม้ แล้วคลุมผ้าไว้หมักประมาณ 1 เดือน
2.วิธีทำปุ๋ยหมักน้ำ นำเศษพืช 30 กก. กากน้ำตาล 10 ลิตร น้ำเปล่าใส่ถังไว้ ใส่สาร พด. 2 ซองต่อน้ำ 10 ลิตร นำมาใส่ถังหมักไว้ประมาณ 2 อาทิตย์
3.ลัษณะการแปรรูปกล้วยน้ำหว้า เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ กล้วยฉาบ ขนมกล้วย
4.ลักษณะการเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันโดยครูและแม่ครัววางแผนการปลูกผักร่วมกับครูเกษตรและนักเรียนทุกชั้นเรียน
(แสดงหลักฐานแผนการเชื่อมโยงเมนูอาหารกลางวันกับเกษตรในโรงเรียนตามที่ ผอ.จงกลนี อธิบาย)
จะดำเนินการสานต่อโครงการให้มีประสิทธิภาพและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้สุงสุด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
การนำผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรูปสู่ระบบสหกรณ์นักเรียนอย่างเป็นรูปธรรมต่อเนื่องดังนี้
1.ผลผลิตของนักเรียน
2.ผลผลิตของชุมชนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
3.ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากงานอาชีพในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ของนักเรียน ชั้น ป.4-6 และ ม.1-3
1.ผลผลิตทางการเกษตรของนักเรียน ได้แก่พืชผักสวนครัว ไก่ไข ไข่เปิด ไข่ห่าน เนื้อหมู จิ้งหรีด
2.ผลผลิตทางการเกษตรของชุมชน ไ้ด้แก่ ข้าว พืชผักสวนครัว
3.การนำผลิตภัณฑ์งานอาชีพของนักเรียน ได้แก่กล้่วยฉาบ ขนมกล้วย ขนมวุ้นมะพร้าว เป็นต้น
จัดหาเครือข่ายเกษตรชุมชนเด็กไทยแก้มใสในพื้นที่ตำบลโนนดินแดงเพิ่มขึ้น(เดิมมี 1 ชุมชนหมู่ 7)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.จัดบริการอาหารให้นักเรียนตั้งแต่ระดับ อนุบาล-ม.3 โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch ได้ 100%
2.จัดโรงผลิตน้ำดื่มสะอาดตามหลักสุขาภิบาลกระจายไปยังจุดบริการอาคารประถมและมัธยม
3.จัดโรงอาหารและโรงครัวตามหลักสุขาภิบาล
1.นำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ และวัตถุดิบต่างๆ ที่สะอาดและปลอดภัยมาประกอบอาหารตามโปรแกรม TSL หมุนเวียนรายเดือนโดยมีป้ายไวนิลแสดงกระดานโภชนาการเมนูอาหารและสารอาหารติดไว้ในโรงอาหารให้นักเรียนได้เรียนรู้ช่วงรับประทานอาหารกลางวัน
2.มีระบบการผลิตน้ำดื่มตั้งแต่ถังจัดเก็บน้ำดิบไปจนถึงระบบกรองน้ำที่ได้มาตรฐานและติดตั้งท่อส่งน้ำกระจายไปยังสองจุดบริการที่อาคารประถมและมัธยม โดยผ่านชุดกรองน้ำขนาดเล็กอีกชั้นหนึ่งก่อนบริโภค
3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาลโดยมีภาพถ่ายกิจกรรมก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง(อ้างอิงกิจกรรมย่อยข้อ การปรับปรุงโรงอาหาร)
1.จัดบริการอาหารเช้าเพิ่มขึ้นโดยผู้ปกครองสมทบมื้อละ 3 บาทต่อวัน
2.ปรับเมนูอาหารกลางวันและเพิ่มอาหารว่างที่หลากหลายมากขึ้น โดยรับซื้อผลผลิตเกษตรปลอดภัยจากชุมชน
3.ระยะเวลาดำเนินงานเริ่มตั้งแต่ก่อนเปิดเทอม1 ปีการศึกษา 2560
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
1.จัดดำเนินงานเป็นทีม ทำโครงการควบคุมภาวะเด็กอ้วนในโรงเรียน
2.การเยี่ยมบ้านนักเรียน
1.ทีมงานประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูเกษตรโรงเรียน ครูอาหารกลางวัน ครูอนามัย ครูสุขศึกษาในโรงเรียน ครูประจำชั้น ทีมงาน อย.น้อย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และตรวจสอบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน ดูแลควบคุมการรบประทานอาหารและการออกกำลังกายของนักเรียน
2.เยี่ยมบ้านนักเรียนสำหรับตรวจสอบภาวะโภชนาการของนักเรียน
1.โรงเรียนจะพัฒนาและดำเนินการต่อยอดโครงการให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน
2.จัดทำสมุดบันทึกภาวะโภชนาการรายบุคคล ในปีการศึกษา 2560
3.จัดให้มีการประกวดและให้รางวัลนักเรียนที่มีการปรับพฤติกรรมภาวะโภชนาการดีเด่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
1.การดูแลสุขภาพร่างกายนักเรียน
2.การกำจัดเหา
3.การดูแลสุขภาพทางช่องปาก
คณะครู ครูอนามัยเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขตำบล ร่วมมือกันในการตรวจสุขภาพของนักเรียน มีการตรวจการแปรงฟันทุกวันหลังจากรับประทานอาหารกลางวัน และมีการกำจัดเหาโดยวิธีทางธรรมชาติ โดยใช้ใบน้อยหน่ากำจัดเหา อาทิตย์ละ 1 วัน และให้ความรู้ในการป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ
โรงเรียนจะสานต่อกิจกรรมต่อไปและทำประจำให้มีคุณภาพยิ่งกว่าเดิม
2.ให้เด็กนำวิธีจำกัดเหาไปใช้ในครอบครัวตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
1.โรงเรียนมีการคัดแยกขยะ
2.มีการนำขยะหรือวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้งานมาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์
3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัว
4.จัดเวรทำความสะอาดเขตพื้นที่รับผิดชอบ
5.ห้องน้ำสะอาด
1.คัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภทได้แก่ ขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย
2.นำขยะเปียกเช่นเศษใบไม้มาทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำขยะทั่วไปเช่น ซองกาแฟนำมาทำเป็นกระเป๋า นำวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ไ้ด้ใช้งานแล้วมาใช้ในการเกษตร 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาล 4.จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียนและเขตพื้นที่ต่างไ ภายในโรงเรียนให้สะอาดและน่าอยู่
5.โรงเรียนได้ผ่านการประเมินมาตรฐานส้วมสุขสันต์
1.โรงเรียนปรับปรุงสภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลต่อไป
2.จัดตั้งธนาคารขยะรีไวเคิล เพื่อนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะและทำให้เกิดรายได้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-064
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวิโรจน์ เหลือหลาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ ”
หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์
หัวหน้าโครงการ
นายวิโรจน์ เหลือหลาย
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-064 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.18
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 ตำบลลำนางรอง อำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ศรร.1312-064 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 268 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
- เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล การลดหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ
- เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
- เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
- เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เชพแก้มใสใส่ใจสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมย์สติปัญญาที่ดี มีทักษะชีวิตสามารถนำไใช้ได้จริง 2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการ ของนักเรียน 3.พ่อแม่/ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร 4.เกิดกระแสตื่นตัวในชมขน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำบุคลากรได้รับการพัฒนาและอบรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการและนำความรู้ที่ได้มาปฎิบัติจริง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-บุคลากรที่ดูแลโครงการ ได้เข้ารับการอบรมโรงเรียน ๒ คน -บุคลากรได้รับการพัฒนาและอบรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการ นำมาปฎิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
2 | 4 |
2. จัดนิทรรศการเผยแพร่ ผลงาน “ต้นแบบ เด็กไทยแก้มใส” |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการเด็กไทยแก้มใส ในงานหว่านวันแม่เก็บเกี่ยววันพ่อของอำเภอโนนดินแดง โดยในนิทรรศการนำเสนอโครงการเด็กไทยแก้มใส กิจกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ทั้ง 8 ด้าน ผลงานแก้มใสนักเรียน ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันนักเรียนและเพื่อจำหน่าย สารสนเทศแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการเด็กไทยแก้มใสให้กับ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ทำให้ผู้เยี่ยมชมนิทรรศการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส โดยในการจัดนิทรรศการครั้งนี้ได้รับความสนใจจากผู้เยี่ยมชมเป็นจำนวนมาก
|
400 | 430 |
3. ประชุมผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน และจัดทำหลักสูตร |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมผู้ปกครอง ชมชน ชี้แจงนโยบาย 2.จัดทำหลักสูตร - แก้มใสใส่ใจลูกเรา และทำ Swot ชุมชนสุขภาพ - การสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส - การจัดความรู้ด้านสุขภาพ/และการป้องกัน “ลดหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม” - การปลูกพืชผักสวนครัว/ชุมชนปลอดขยะ - การจัดทำเกณฑ์มาตรฐานครูแก้มใสต้นแบบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ เข้าใจนโยบายเด็กไทยแก้มใส และให้ความร่วมมือโดยเข้าร่วมเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
|
120 | 120 |
4. จัดอบรมการทำปุ๋ยหมัก |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
120 | 157 |
5. ขยายพืชผักสวนครัวสู่ ชุมชน |
||
วันที่ 21 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดประชุมผู้ปกครองโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ -จัดแจกพันธุ์พืชให้ผู้ปกครองไปปลูกในครัวเรือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใสและการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพพร้อมกับได้พันธุ์พืชสำหรับไปปลูกขยายผลต่อในครัวเรื่อน
|
120 | 0 |
6. เพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดเตรียมโรงเก็บเห็ด 2.เพาะเห็ดนางฟ้า โดยใช้หัวเชื้อเห็ดก้อนจำนวน 500 ก้อน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูและนักเรียนมีทักษะในการเพาะเห็ดนางฟ้า และสามารถนำผลผลิตจากเห็ดนางฟ้านำมาเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
|
140 | 140 |
7. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงิน งวด1 |
||
วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำตรวจสอบกิจกรรมย่อยของโครงการที่จัดเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้วจำนวน 5 โครงกาาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเอกสารและหลักฐานการจัดกิจกรรมต่างๆ ถกต้องครบถ้วน
|
4 | 4 |
8. การจัดการขยะในโรงเรียน |
||
วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้จัดทำถังคัดแยกขยะพร้อมกับประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะให้กับนักเรียนและมีการจัดการขยะโดยใช้หลัก 3Rs ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสามารถคัดแยกขยะได้ รวมทั้งมีการนำขยะที่คัดแยกแล้วนำกลับไปใช้ประโยชน์อีกครั้ง
|
256 | 256 |
9. ปรับปรุงโรงอาหารและระบบกรองน้ำดื่ม |
||
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำปรับปรุงโรงอาหาร โดยปูพื้นกระเบื้องโรงอาหาร จัดทำรั้วกั้น ทำอ่างล้างผักและจาน นำถาดหลุมมาใช้ ปรับปรุงระบบกรองน้ำดื่มโดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ทันสมัยและได้มาตรฐาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีโรงอาาหารที่สะอาดและถูกสุขลักษณะและน้ำดื่มที่สะอาดไว้บริการนักเรียน
|
256 | 256 |
10. ปลูกพืชผักสวนครัวและผลไม้ |
||
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนได้ลงมือปฎิบัติการปลูกพืชผักสวนครัวและผลไม้ภายในสวนเกษตรของโรงเรียนตามที่ได้แบ่งพื้นที่เพาะปลูกไว้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีทักษะในการปลูกพืชผักสวนครัวและผลไม้ โดยสามารถนำผลผลิตทางการเกษตรส่งต่อไปยังสหกรณ์และอาหารกลางวันนักเรียน
|
256 | 256 |
11. การเลี้ยงสัตว์ |
||
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนลงมือปฎิบัติเกี่ยวกับการเลี้ยงหมู หมูหลุม ไก่ไข่ เป็ด ห่าน จิ้งหรีด ไส้เดือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนเกิดทักษะในการเลี้ยงสัตว์ชนิดต่างๆ และนำผลผลิตที่ได้ส่งไปยังสหกรณ์และอาหารกลางวันนักเรียน
|
256 | 256 |
12. อบรมการทำปุ๋ยหมักในชุมชน |
||
วันที่ 28 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพให้กับชุมชน โดยการสาธิตและลงมือปฏิบัติจริง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชาวบ้านในชุมชนสามารถทำปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อนำไปใช้ในงานเกษตรชุมชนได้
|
37 | 7 |
13. ชุมชนร่วมกันปลูกพืชผักสวนครัวสำหรับอาหารกลางวันนักเรียน |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำชุมชนร่วมกันปลูกพืชผักสวนครัวโดยใช้พื้นที่ในชุมชนสำหรับส่งผลผลิตไปยังสหกรณ์โรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวันให้นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผลผลิตจากการเกษตรในชุมชน ดดยมีพืชผักสวนครัวชนิดต่าง สามารถส่งไปยังสหกรณ์โรงเรียนได้
|
303 | 253 |
14. การจัดทำปุ๋ยชีวภาพ |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการทำปุ๋ยชีวภาพจากปุ๋ยหมัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นปุ๋ยชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตรโรงเรียน ช่วยลดต้นทุนในการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีอันตรายต่อสุขภาพของนักเรียน และยังสามารถนำไปใช้ปฎิบัติจริงที่บ้านของนักเรียน
|
140 | 120 |
15. งานอาชีพนักเรียน 1 ห้องเรียน ต่อ 1 อาชีพ |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการวางแผนการทำงาน เตรียมวัสดุอุปกรณ์ลงมือปฏิบัติจริงและสรุปผลการทำงานอาชีพนักเรียนร่วมกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรีนยนมีความรู้ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกัยงานอาชีพ สามารถนำมาประยุกต์ ์ใช้ในการทำงาน มีทักษะกระบวนการในการทำงาน สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาในการทำงาน ขยัน อดทน ประหยัด สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ตลอดจนมีความสามารถ ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างมีจิตสำนึก
|
256 | 256 |
16. จัดอบรมให้กับครู นักเรียนในตำบลลำนางรองจำนวน 6 โรงเรียน |
||
วันที่ 18 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์โดยหน่วยงานต่างๆเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ สสส. สาธารณะสุข เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าดงใหญ่ มูลนิธิสุภนิมิตร ผู้อำนวยการ คณะครูและนักเรียนทั้ง 6 โรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส ผู้อำนวยการ คณะครูและนักเรียนทั้ง 6 โรงเรียน ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือสนใจในการจัดกิจกรรมและจะยินดีที่จะดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
|
100 | 252 |
17. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมอาหารสุขภาพ |
||
วันที่ 18 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำวิธีการแปรรูปอาหารขนมกล้วย การทำกล้วยอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนจัดแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตรและลดขนมกรุบกรอบ หวาน มัน กรอบ และนักเรียนได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ฝึกทักษะอาชีพ และส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างนิสัยในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
|
140 | 120 |
18. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงินงวด 2 และ จัดทำรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ |
||
วันที่ 18 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรวบรวมจัดทำเอกสาร เข้าเล่มฉบับสมบูรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดทำรายงานให้กับโครงการและประชาสัมพันธ์โครงการให้เป็นที่รู้จักแก้สาธารณะชน
|
20 | 5 |
19. คืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ยธนาคารเพื่อปิดโครงการ
|
2 | 2 |
20. จัดนิทรรศการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการเผรแพร่และประชาสัมพันธ์การดำเนินงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้บริหาร คณะครู นักเรียน หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และผู้เข้าชมนิทรรศการ ได้รับความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสของโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
|
280 | 270 |
21. เชพแก้มใสใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563กิจกรรมที่ทำนักเรียนร่วมกับชุมชน ได้ใช้ผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน ในการประกอบอาหาร เพื่อแข่งขันและฝึกการประกอบอาหาร โดยใช้ผลผลิตที่เรามี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสามารถประกอบอาหารได้อย่างถูกสุขลักษณะ และมีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยใช้ผักที่นักเรียนปลูกเองมาประกอบอาหาร ทำให้นักเรียนมีความภูมิใจในสิ่งที่ตนเองทำ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ ตัวชี้วัด : ชุมชน-หน่วยงานสนับสนุนอย่างน้อย 5 หน่วยงาน |
|
|||
2 | เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล การลดหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ ตัวชี้วัด : สหกรณ์ร้านค้านักเรียนไม่จำหน่ายอาหาร มีรสหวาน มัน เค็ม นำ้อัดลมและขนมกรุบกรอบ 100% |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนปลูกพืชผักสวนครัว และเลี้ยงเลี้ยงสัตว์ อย่างน้อย 1 อย่างทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน |
|
|||
4 | เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย ตัวชี้วัด : โรงเรียนปลอดขยะมูลฝอย ห้องน้ำห้องครัวโรงอาหารสะอาด |
|
|||
5 | เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ ตัวชี้วัด : โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนสนใจแหล่งเรียนรู้เข้าร่วมโครงการอย่างน้อย 4 โรงเรียน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ (2) เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์ร้านค้า ดูแล การลดหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบ (3) เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน (4) เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย (5) เพื่อขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในตำบล ทั้ง 6 โรงเรียนและเป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เชพแก้มใสใส่ใจสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
รหัสโครงการ ศรร.1312-064 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
1.ทำปุ่ยหมักชีวภาพ
2.ทำปุ๋ยหมักน้ำ
3.การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า
4.การเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch
1.วิธีทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากการนำเศษใบไม้ 1ตัน ขี้วัว 40 กก.นำมาวางทับกันเป็นกองให้ได้ 5 ชั้น แล้วนำสาร พด.(สารของหน่วยงานพัฒนาที่ดิน)1ซอง ผสมน้ำประมาณ 1 ผักบัว รดลงกองใบไม้ แล้วคลุมผ้าไว้หมักประมาณ 1 เดือน
2.วิธีทำปุ๋ยหมักน้ำ นำเศษพืช 30 กก. กากน้ำตาล 10 ลิตร น้ำเปล่าใส่ถังไว้ ใส่สาร พด. 2 ซองต่อน้ำ 10 ลิตร นำมาใส่ถังหมักไว้ประมาณ 2 อาทิตย์
3.ลัษณะการแปรรูปกล้วยน้ำหว้า เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ กล้วยฉาบ ขนมกล้วย
4.ลักษณะการเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันโดยครูและแม่ครัววางแผนการปลูกผักร่วมกับครูเกษตรและนักเรียนทุกชั้นเรียน
(แสดงหลักฐานแผนการเชื่อมโยงเมนูอาหารกลางวันกับเกษตรในโรงเรียนตามที่ ผอ.จงกลนี อธิบาย)
จะดำเนินการสานต่อโครงการให้มีประสิทธิภาพและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้สุงสุด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
การนำผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรูปสู่ระบบสหกรณ์นักเรียนอย่างเป็นรูปธรรมต่อเนื่องดังนี้
1.ผลผลิตของนักเรียน
2.ผลผลิตของชุมชนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
3.ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากงานอาชีพในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ของนักเรียน ชั้น ป.4-6 และ ม.1-3
1.ผลผลิตทางการเกษตรของนักเรียน ได้แก่พืชผักสวนครัว ไก่ไข ไข่เปิด ไข่ห่าน เนื้อหมู จิ้งหรีด
2.ผลผลิตทางการเกษตรของชุมชน ไ้ด้แก่ ข้าว พืชผักสวนครัว
3.การนำผลิตภัณฑ์งานอาชีพของนักเรียน ได้แก่กล้่วยฉาบ ขนมกล้วย ขนมวุ้นมะพร้าว เป็นต้น
จัดหาเครือข่ายเกษตรชุมชนเด็กไทยแก้มใสในพื้นที่ตำบลโนนดินแดงเพิ่มขึ้น(เดิมมี 1 ชุมชนหมู่ 7)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.จัดบริการอาหารให้นักเรียนตั้งแต่ระดับ อนุบาล-ม.3 โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch ได้ 100%
2.จัดโรงผลิตน้ำดื่มสะอาดตามหลักสุขาภิบาลกระจายไปยังจุดบริการอาคารประถมและมัธยม
3.จัดโรงอาหารและโรงครัวตามหลักสุขาภิบาล
1.นำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ และวัตถุดิบต่างๆ ที่สะอาดและปลอดภัยมาประกอบอาหารตามโปรแกรม TSL หมุนเวียนรายเดือนโดยมีป้ายไวนิลแสดงกระดานโภชนาการเมนูอาหารและสารอาหารติดไว้ในโรงอาหารให้นักเรียนได้เรียนรู้ช่วงรับประทานอาหารกลางวัน
2.มีระบบการผลิตน้ำดื่มตั้งแต่ถังจัดเก็บน้ำดิบไปจนถึงระบบกรองน้ำที่ได้มาตรฐานและติดตั้งท่อส่งน้ำกระจายไปยังสองจุดบริการที่อาคารประถมและมัธยม โดยผ่านชุดกรองน้ำขนาดเล็กอีกชั้นหนึ่งก่อนบริโภค
3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาลโดยมีภาพถ่ายกิจกรรมก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง(อ้างอิงกิจกรรมย่อยข้อ การปรับปรุงโรงอาหาร)
1.จัดบริการอาหารเช้าเพิ่มขึ้นโดยผู้ปกครองสมทบมื้อละ 3 บาทต่อวัน
2.ปรับเมนูอาหารกลางวันและเพิ่มอาหารว่างที่หลากหลายมากขึ้น โดยรับซื้อผลผลิตเกษตรปลอดภัยจากชุมชน
3.ระยะเวลาดำเนินงานเริ่มตั้งแต่ก่อนเปิดเทอม1 ปีการศึกษา 2560
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
1.จัดดำเนินงานเป็นทีม ทำโครงการควบคุมภาวะเด็กอ้วนในโรงเรียน
2.การเยี่ยมบ้านนักเรียน
1.ทีมงานประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูเกษตรโรงเรียน ครูอาหารกลางวัน ครูอนามัย ครูสุขศึกษาในโรงเรียน ครูประจำชั้น ทีมงาน อย.น้อย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และตรวจสอบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน ดูแลควบคุมการรบประทานอาหารและการออกกำลังกายของนักเรียน
2.เยี่ยมบ้านนักเรียนสำหรับตรวจสอบภาวะโภชนาการของนักเรียน
1.โรงเรียนจะพัฒนาและดำเนินการต่อยอดโครงการให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน
2.จัดทำสมุดบันทึกภาวะโภชนาการรายบุคคล ในปีการศึกษา 2560
3.จัดให้มีการประกวดและให้รางวัลนักเรียนที่มีการปรับพฤติกรรมภาวะโภชนาการดีเด่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
1.การดูแลสุขภาพร่างกายนักเรียน
2.การกำจัดเหา
3.การดูแลสุขภาพทางช่องปาก
คณะครู ครูอนามัยเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขตำบล ร่วมมือกันในการตรวจสุขภาพของนักเรียน มีการตรวจการแปรงฟันทุกวันหลังจากรับประทานอาหารกลางวัน และมีการกำจัดเหาโดยวิธีทางธรรมชาติ โดยใช้ใบน้อยหน่ากำจัดเหา อาทิตย์ละ 1 วัน และให้ความรู้ในการป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ
โรงเรียนจะสานต่อกิจกรรมต่อไปและทำประจำให้มีคุณภาพยิ่งกว่าเดิม
2.ให้เด็กนำวิธีจำกัดเหาไปใช้ในครอบครัวตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
1.โรงเรียนมีการคัดแยกขยะ
2.มีการนำขยะหรือวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้งานมาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์
3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัว
4.จัดเวรทำความสะอาดเขตพื้นที่รับผิดชอบ
5.ห้องน้ำสะอาด
1.คัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภทได้แก่ ขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย
2.นำขยะเปียกเช่นเศษใบไม้มาทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำขยะทั่วไปเช่น ซองกาแฟนำมาทำเป็นกระเป๋า นำวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ไ้ด้ใช้งานแล้วมาใช้ในการเกษตร 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาล 4.จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียนและเขตพื้นที่ต่างไ ภายในโรงเรียนให้สะอาดและน่าอยู่
5.โรงเรียนได้ผ่านการประเมินมาตรฐานส้วมสุขสันต์
1.โรงเรียนปรับปรุงสภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลต่อไป
2.จัดตั้งธนาคารขยะรีไวเคิล เพื่อนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะและทำให้เกิดรายได้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์
รหัสโครงการ ศรร.1312-064 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | 1.ทำปุ่ยหมักชีวภาพ 2.ทำปุ๋ยหมักน้ำ 3.การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า 4.การเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch |
1.วิธีทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากการนำเศษใบไม้ 1ตัน ขี้วัว 40 กก.นำมาวางทับกันเป็นกองให้ได้ 5 ชั้น แล้วนำสาร พด.(สารของหน่วยงานพัฒนาที่ดิน)1ซอง ผสมน้ำประมาณ 1 ผักบัว รดลงกองใบไม้ แล้วคลุมผ้าไว้หมักประมาณ 1 เดือน
2.วิธีทำปุ๋ยหมักน้ำ นำเศษพืช 30 กก. กากน้ำตาล 10 ลิตร น้ำเปล่าใส่ถังไว้ ใส่สาร พด. 2 ซองต่อน้ำ 10 ลิตร นำมาใส่ถังหมักไว้ประมาณ 2 อาทิตย์
3.ลัษณะการแปรรูปกล้วยน้ำหว้า เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ กล้วยฉาบ ขนมกล้วย
4.ลักษณะการเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันโดยครูและแม่ครัววางแผนการปลูกผักร่วมกับครูเกษตรและนักเรียนทุกชั้นเรียน |
จะดำเนินการสานต่อโครงการให้มีประสิทธิภาพและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้สุงสุด |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | การนำผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรูปสู่ระบบสหกรณ์นักเรียนอย่างเป็นรูปธรรมต่อเนื่องดังนี้ 1.ผลผลิตของนักเรียน 2.ผลผลิตของชุมชนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส 3.ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากงานอาชีพในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ของนักเรียน ชั้น ป.4-6 และ ม.1-3 |
1.ผลผลิตทางการเกษตรของนักเรียน ได้แก่พืชผักสวนครัว ไก่ไข ไข่เปิด ไข่ห่าน เนื้อหมู จิ้งหรีด 2.ผลผลิตทางการเกษตรของชุมชน ไ้ด้แก่ ข้าว พืชผักสวนครัว 3.การนำผลิตภัณฑ์งานอาชีพของนักเรียน ได้แก่กล้่วยฉาบ ขนมกล้วย ขนมวุ้นมะพร้าว เป็นต้น |
จัดหาเครือข่ายเกษตรชุมชนเด็กไทยแก้มใสในพื้นที่ตำบลโนนดินแดงเพิ่มขึ้น(เดิมมี 1 ชุมชนหมู่ 7) |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | 1.จัดบริการอาหารให้นักเรียนตั้งแต่ระดับ อนุบาล-ม.3 โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch ได้ 100% 2.จัดโรงผลิตน้ำดื่มสะอาดตามหลักสุขาภิบาลกระจายไปยังจุดบริการอาคารประถมและมัธยม 3.จัดโรงอาหารและโรงครัวตามหลักสุขาภิบาล |
1.นำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ และวัตถุดิบต่างๆ ที่สะอาดและปลอดภัยมาประกอบอาหารตามโปรแกรม TSL หมุนเวียนรายเดือนโดยมีป้ายไวนิลแสดงกระดานโภชนาการเมนูอาหารและสารอาหารติดไว้ในโรงอาหารให้นักเรียนได้เรียนรู้ช่วงรับประทานอาหารกลางวัน 2.มีระบบการผลิตน้ำดื่มตั้งแต่ถังจัดเก็บน้ำดิบไปจนถึงระบบกรองน้ำที่ได้มาตรฐานและติดตั้งท่อส่งน้ำกระจายไปยังสองจุดบริการที่อาคารประถมและมัธยม โดยผ่านชุดกรองน้ำขนาดเล็กอีกชั้นหนึ่งก่อนบริโภค 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาลโดยมีภาพถ่ายกิจกรรมก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง(อ้างอิงกิจกรรมย่อยข้อ การปรับปรุงโรงอาหาร) |
1.จัดบริการอาหารเช้าเพิ่มขึ้นโดยผู้ปกครองสมทบมื้อละ 3 บาทต่อวัน 2.ปรับเมนูอาหารกลางวันและเพิ่มอาหารว่างที่หลากหลายมากขึ้น โดยรับซื้อผลผลิตเกษตรปลอดภัยจากชุมชน 3.ระยะเวลาดำเนินงานเริ่มตั้งแต่ก่อนเปิดเทอม1 ปีการศึกษา 2560 |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | 1.จัดดำเนินงานเป็นทีม ทำโครงการควบคุมภาวะเด็กอ้วนในโรงเรียน 2.การเยี่ยมบ้านนักเรียน |
1.ทีมงานประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูเกษตรโรงเรียน ครูอาหารกลางวัน ครูอนามัย ครูสุขศึกษาในโรงเรียน ครูประจำชั้น ทีมงาน อย.น้อย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และตรวจสอบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน ดูแลควบคุมการรบประทานอาหารและการออกกำลังกายของนักเรียน 2.เยี่ยมบ้านนักเรียนสำหรับตรวจสอบภาวะโภชนาการของนักเรียน |
1.โรงเรียนจะพัฒนาและดำเนินการต่อยอดโครงการให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน 2.จัดทำสมุดบันทึกภาวะโภชนาการรายบุคคล ในปีการศึกษา 2560 3.จัดให้มีการประกวดและให้รางวัลนักเรียนที่มีการปรับพฤติกรรมภาวะโภชนาการดีเด่น |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | 1.การดูแลสุขภาพร่างกายนักเรียน |
คณะครู ครูอนามัยเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขตำบล ร่วมมือกันในการตรวจสุขภาพของนักเรียน มีการตรวจการแปรงฟันทุกวันหลังจากรับประทานอาหารกลางวัน และมีการกำจัดเหาโดยวิธีทางธรรมชาติ โดยใช้ใบน้อยหน่ากำจัดเหา อาทิตย์ละ 1 วัน และให้ความรู้ในการป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ |
โรงเรียนจะสานต่อกิจกรรมต่อไปและทำประจำให้มีคุณภาพยิ่งกว่าเดิม 2.ให้เด็กนำวิธีจำกัดเหาไปใช้ในครอบครัวตนเอง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | 1.โรงเรียนมีการคัดแยกขยะ 2.มีการนำขยะหรือวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้งานมาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัว 4.จัดเวรทำความสะอาดเขตพื้นที่รับผิดชอบ 5.ห้องน้ำสะอาด |
1.คัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภทได้แก่ ขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย 2.นำขยะเปียกเช่นเศษใบไม้มาทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำขยะทั่วไปเช่น ซองกาแฟนำมาทำเป็นกระเป๋า นำวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ไ้ด้ใช้งานแล้วมาใช้ในการเกษตร 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาล 4.จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียนและเขตพื้นที่ต่างไ ภายในโรงเรียนให้สะอาดและน่าอยู่ 5.โรงเรียนได้ผ่านการประเมินมาตรฐานส้วมสุขสันต์ |
1.โรงเรียนปรับปรุงสภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลต่อไป 2.จัดตั้งธนาคารขยะรีไวเคิล เพื่อนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะและทำให้เกิดรายได้ในชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-064
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวิโรจน์ เหลือหลาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......