จัดทำรายงานปิดงวด 2พร้อมคืนดอกเบี้ย
จัดทำรายงานปิดงวด 2พร้อมคืนดอกเบี้ย
ประกอบด้วย
- นักเรียนจัดทำป้ายถอดบทเรียนความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเเพียง กิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
- โรงเรียนจัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียนในโรงเรียน
- โรงเรียนจัดแหล่งเรียนรู้ย่อย ไว้ตามจุดต่างๆ ในโรงเรียน
- โรงเรียนจัดแสดงผลงานเมื่อสิ้นปีการศึกษา
- โรงเรียนจัดทำเอกสารเผยแพร่ผลการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มให้กับโรงเรียนในเครือข่าย
- จัดนิทรรศการแสดงผลงานในโรงเรียน
- จัดแหล่งเรียนรู้ย่อย ไว้ตามจุดต่างๆ ในโรงเรียน
- จัดแสดงผลงานเมื่อสิ้นปีการศึกษา
- โรงเรียนจัดทำเอกสารเผยแพร่ผลการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มให้กับโรงเรียนในเครือข่าย 5.ผู้ปกครองและชุมชน ทราบถึงผลการดำเนินโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ครู นักเรียนที่มาศึกษาดูงาน รับรู้ เข้าใจการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส
- โรงเรียนในเครือข่ายได้รับความรู้จากคู่มือการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ประกอบด้วย
- เลี่ยงปลาดุกในกระชัง จำนวน 2,800 ตัว 2.เลี้ยงปลากินพืชแบบธรรมชาติ
- นักเรียนร่วมกับครู มีการปล่อยพันธุ์ลูกปลาดุกบิ๊กอุย จำนวน 2800 ตัว ในบ่อเลี้ยงแบบกระชัง จำนวน 4กระชังและมีการแบ่งเวรนักเรียนชั้น ป.4-6 ในการให้อาหารปลาดุก และการดูแลบ่อเลี้ยง ซึ่งปลาดุกจะมีการเจริญเติบโต และใช้เวลาในการเลี้ยงดู เป็นเวลา 3เดือนซึ่งสามารถนำผลผลิตมาประกอบเป็นอาหารในโครงการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
- นักเรียนได้รับอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ
- โรงเรียนมีปลาดุกเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
ประกอบด้วย
- โรงเรียนจัดทำเอกสารประกอบการเรียนรู้ สำหรับให้นักเรียนได้เรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ได้ด้วยตนเอง
- โรงเรียนจัดทำแหล่งเรียนรู้ด้าน เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ผลผลิต
1. โรงเรียนจัดทำเอกสารประกอบการเรียนรู้ สำหรับให้นักเรียนได้เรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ได้ด้วยตนเอง
2. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ด้าน เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
3.นักเรียนมีความรู้ เจตคติ ทักษะ พฤติกรรมทางด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพที่พึงประสงค์ ในเรื่อง การปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ เพื่อการบริโภคและหรือขาย
ประกอบด้วย
จัดซื้อวัสดุดำเนินกิจกรรมเพื่อนำมาต่อยอดโครงการให้มีความยั่งยืน
1.สหกรณ์นักเรียนที่จัดจำหน่ายอุปกรณ์การเรียน อาหารว่าง และเครื่องดื่มมีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ
2. นักเรียนดำเนินกิจกรรมและจัดทำบัญชีต่างๆของ กิจกรรมสหกรณ์ได้
3. มีคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนที่จัดตั้งและดำเนินการโดยนักเรียน มีนักเรียนเป็นสมาชิกและมีวาระในการทำงานอย่างน้อย 1 ปีการศึกษา
4. มีระบบรับสมัครสมาชิกด้วยความสมัครใจ เปิดกว้างสำหรับนักเรียนทุกคน และมีการเก็บค่าหุ้น
5. นักเรียนได้รับประทาน อาหารว่าง และเครื่องดื่มที่มีคุณภาพได้มาตรฐานตามหลักโภชนาการ
6. นักเรียนเข้าใจหลักการดำเนินงานของสหกรณ์ ฝึกความรอบคอบในการจัดทำบัญชี และฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย
7.นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม
8. ปัจจุบันสหกรณ์โรงเรียนมีสมาชิกดำเนินกิจกรรมจำนวน 83คน คิดเป็นร้อยละ 88.30 มีหุ้นในสหกรณ์ 3,610 บาท ดำเนินการแล้วปัจจุบันมีกำไรสุทธิ6,306บาท
ประกอบด้วย
จัดซื้อแม่เป็ดไข่/ไก่ไข่ เพิ่มอีก ชนิดละจำนวน10ตัวเพื่อนำมาต่อยอดโครงการให้มีความยั่งยืน
- โรงเรียนมีไข่เป็ด/ไข่ไก่เพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
- โรงเรียนมีผลผลิตไข่หมุนเวียนเพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
- นักเรียนจัดทำการแปรรูปไข่เป็ด เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับไข่เป็ด โดยทำเป็นไข่เค็มสมุนไพร
- นักเรียนได้รับอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ
- ลดต้นทุนการซื้อไข่เป็ด/ไข่ไก่และรายได้หมุนเวียนในโรงเรียน โดยในปีการศึกษา 2559 โครงการอาหารกลางวันโรงเรียนซื้อไ่ข่เป็ด/ไข่ไก่ จากกลุ่มผู้ผลิตในโรงเรียนจำนวน 13,724บาท
- นักเรียนได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและฝึกทักษะอาชีพ ึ7. โรงเรียนนำผลผลิตกระจายสู่ชุมชน ผ่านกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ซึ่งปีการศึกษา 2559 โรงเรียนมีรายได้จากการขายไข่เป็ด /ไข่ไก่ ให้สมาชิกสหกรณืทั่วไปในโรงเรียนและชุมชน จำนวน 42,955 บาท
ประกอบด้วย
จัดซื้อก้อนเห็ดนางฟ้าจำนวน 1,300 ก้อน เพืื่อให้นักเรียนได้นำมาเพาะในโรงเรือน นำผลผลิตสู่โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
1.โรงเรียนมีเห็ดนางฟ้าเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนและการแปรรูปอาหาร 2.นักเรียนจัดทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตร และส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างนิสัยในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ 3.นักเรียนได้รับอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ 4. นักเรียนได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ฝึกทักษะอาชีพและส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างนิสัยในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

จัดประชุมครูอาหารกลางวัน และครูอนามัย ในอำเภอบัวเชด จำนวน23คน เมื่องวันที่ 27ธันวาคม2559 ณ โรงเรียนบ้านหนองเหล็ก(กองทัพบกอุปถัมภ์) ต.ตาวังอ.บัวเชดจ.สุรินทร์
1.ตัวแทนครูที่รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน และครูอนามัย จำนวน20 คน เข้ารับการอบรม เกี่ยวกับการจัดอาหารกลางวันและการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนในโรงเรียนเด้กไทยแก้มใส 2.ตัวแทนครูที่รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันและครูอนามัย เข้าใจการดำเนินกิจกรรมในโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ประกอบด้วย
- คณะเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.บ้านหนองโจงโลง และนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ออกตรวจสุขภาพนักเรียน (วันทีี 21 มีนาคม 25ุ60)
- คณะเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.บ้านหนองโจงโลง และนักศึกษาฝึกประสบการณ์ ให้ความรู้วัคซีนจมน้ำ (วันทีี 17 มีนาคม 25ุ60)
- ครูเวรประจำวันตรวจความสะอาดร่างกายของนักเรียนทุกๆวัน
- ครูอนามัยและแกนนำนักเรียน วัดนำ้หนัก ส่วนสูง และแปรผลภาวะโภชนาการนักเรียนทุกๆเดือน
ผลผลิต
1. นักเรียนได้รับการตรวจร่างกายและการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
2.นักเรียนได้รับการตรวจฟันจากบุคลากรสาธารณสุข
3.โรงเรียนมีแกนนำนักเรียนในการทำกิจกรรมส่งเสริม
สุขภาพในโรงเรียน
4. ครูอนามัย ครูเวรประจำวัน ตรวจสุขภาพด้านต่างๆ ของนักเรียนเป็นประจำ
ผลลัพธ์
1.นักเรียนชั้น อ.1 - ป. 6 จำนวน94คน รู้จักการดูแลสุขภาพและความสะอาดของร่ายกาย
2.นักเรียนเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำในการดูแลช่วยเหลือกัน
3.นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยง่าย และร่างกายมีภูมิต้านทาน
4. นักเรียน ป.1-6 จำนวน71คน ได้เรียนรู้วิธีการดูแล ป้องกันตนเองจากการจมน้ำ
ประกอบด้วย
1.นักเรียนมีการทำความสะอาดห้องเรียนและบริเวณโรงเรียนทุกครั้ง มีรายละเอียดดังนี้ (เช้า - เย็น)
2. นักเรียนแยกขยะในชั้นเรียนของตนเองก่อนนำทิ้ง
3. นักเรียนทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนตามเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
4. นักเรียนนำขยะบางชนิดกลับมาใช้ประโยชน์อีก
ผลผลิต
1. นักเรียนมีการคัดแยกก่อนทิ้ง
2. โรงเรียนมีวิธีกำจัดขยะได้ถูกวิธี
3. นักเรียนนำวิธีการคัดแยกขยะไปใช้ในชุมชน
ผลลัพธ์
1.ลดมลภาวะในโรงเรียน
2. นักเรียนเห็นคุณค่าของขยะ
3.โรงเรียน และชุมชนปลอดขยะ
ประกอบด้วย
• ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนร่วมพัฒนาบริบท อาคารสถานที่ในโรงเรียน
• โรงเรียนให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เพื่อนำไปปฏิบัติที่บ้าน
• นักเรียนทุกคนร่วมกันทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนทุกวัน
• ครูและนักเรียนร่วมกันพัฒนาห้องเรียนของตนเองให้สะอาด ปลอดภัยต่อสุขภาพของนักเรียน
ผลผลิต
- อาคารสถานที่ บริเวณรอบโรงเรียน และสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียน สะอาด ปลอดภัย
น่าอยู่ น่าเรียน
- นักเรียนให้ความร่วมมือทำกิจกรรมเสียสละ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม เช่น ความสะอาดบริเวณโรงเรียน ชุมชน ดูแลและใช้ส้วมให้ถูกสุขลักษณะ ทิ้งขยะในที่รองรับ และใช้ของอย่างประหยัด
ผลลัพธ์
- นักเรียนมีความสุขในการเรียน
- นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยบ่อย
ประกอบด้วย

มีการตรวจเครื่องกรองน้ำดื่ม โดยเปลี่ยนไส้กรอง ทำความสะอาด เทอมละ 1 ครั้ง 1. ปรับปรุงเครื่องกรองน้ำดื่มโดยเปลี่ยนใส้กรองเครืองกรองน้ำดื่มทุกๆเทอม 2. จัดทำระบบน้ำดื่มสะอาด บริการนักเรียนและคร บุคลากรในโรงเรีย
ผลผลิต
-ปรับปรุงคุณภาพน้ำดื่มให้สะอาดและเพียงพอกับนักเรียน
ผลลัพธ์
-นักเรียนและบุคลากรมีน้ำดื่มสะอาดไว้บริโภค
ประกอบด้วย

- โรงเรียนมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียน และประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียน คัดกรองนักเรียนแต่ละกลุ่ม และดำเนินการแก้ไข พัฒนานักเรียนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
- โรงเรียนมีการส่งเสริมสมรรถภาพทางกายนักเรียน โดยจัดกิจกรรมออกกำลังกายทุกวันพฤหัสบดี กิจกรรมการเล่นก๊ฬาและการแข่งขันกีฬาสี
- ครูประจำชั้นดำเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
- นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพและให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพจากบุคลากรสาธารณสุขหรือที่เกี่ยวข้อง ภาคเรียนละ 1 ครั้
1.นักเรียนที่ภาวะเริ่มอ้วน อ้วน ผอม และเตี้ย ลดลง
2. นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัย
3.โรงเรียนมีระบบการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียน
4. ครู ผู้ปกครอง ร่วมกันแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
5.นักเรียนชั้น อ.1 ป. 6 มีการเจริญเติบโตตามวัยมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 2.20ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 8.80 ภาวะผอมและค่อนข้างผอม ร้อยละ 7.69
ุ6. นักเรียนชั้น ป. 1- ป. 6 ร้อยละ 93.05 มีสมรรถภาพทางกายผ่่านเกณฑ์
- เครือข่ายผู้ปกครองมีความเข้มแข็งในการดำเนินงานแก้ปัญหา
ภาวะโภชนาการของนักเรียน
ประกอบด้วย
- โรงเรียนจัดทำรายการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม TCL และจัดอาหารว่างทุกวัน โดยเน้นไปที่ผลไม้
- แม่ครัวปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
3.แม่ครัวครูเวรประจำวันนักเรียนแกนนำ ตักอาหารกลางวันบริการนักเรียนตามสัดส่วน ที่นักเรียนต้องการ - สหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียนไม่จัดจำหน่ายขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลม
- โรงเรียนจัดทำรายการอาหารล่วงหน้า อย่างน้อย 1 เดือน โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ตามมาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนหรือชุมชน 2.แม่ครัวมีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย 3.มีการตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย และทันเวลา 4.โรงเรียนจัดอาหารว่าง ขนม และเครื่องดื่มที่ได้มาตรฐานโภชนาการ 5.นักเรียนจำนวน94คน ได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการ และเพียงพอต่อความต้องการ ุ6. นักเรียนจำนวน 94 คน ไม่เกิดโรคระบาดของอาหารเป็นพิษ
ประกอบด้วย

ครู และบุคลากรจำนวน 2 คน เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการฯ ที่โรงแรมสุนีย์แกรนด์ จ.อุบลราชธานี ในวันที่ 25 ตุลาคม 2559
- ครูและบุคลากรในโรงเรียนจำนวน 2 คน เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ
- โรงเรียนมีการจัดทำสรุปรายงานโครงการที่ถูกต้อง สมบูรณ์
ประกอบด้วย
- ช่วงเวลาในการทำกิจกรรมปลูกผัก ตลอดปีการศึกษา
- โรงเรียนจัดพื้นที่ปลูกผักสวนครัวสำหรับนักเรียนและผู้ปกครอง
- โรงเรียนจัดหาเมล็ดพันผัก สำหรับให้นักเรียนปลูก ได้แก่ คะน้า กวางตุ้ง ผักกาด ผักบุ้ง ฟักทอง ข้าวโพด ผักชี ถั่ว มะเขือ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังได้รับการสนับสนุนเมล็ดพันธ์ุผักจากนายอำเภอบัวเชด
- โรงเรียนจัดทำระบบน้ำ อำนวยความสะดวกแก่นักเรียนในการรดน้ำ
- หน่วยงานทหารสอนการทำปุ๋ยอินทรีย์แก่ผู้ปกครองและนักเรียน และนำปุ๋ยมาใช้ในการปลูกผักของนักเรียนและผู้ปกครอง ตลอดการทำกิจกรรม
- นักเรียนมีทักษะในการปลูกผักและดูแลผักสวนครัว
- โรงเรียนมีผักสวนครัวเพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ได้แก่ คะน้า กวางตุ้ง ผักกาด ผักบุ้ง ฟักทอง ข้าวโพด ผักชี ถั่ว มะเขือ ฯลฯ
- โรงเรียนมีแผนการผลิตพืชผักที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และเพียงพอต่อความต้องการ
- จัดจำหน่ายพืชผักสวนครัวผ่านสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียน
ประกอบด้วย
- โรงเรียนมีการเพาะเห็ดในโรงเรือน 1 หลัง และขยายผลอีก 3 หลัง โดยเพาะเห็ดในแท้งค์นำ้เก่าที่ไม่ไช้แล้ว การดำเนินการมีดังนี้
1. จัดสร้างโรงเรือนเพาะเห็ดหลังที่ 1 โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณและแรงงานจากทหารและชุมชน ในการร่วมสร้าง
2. จัดซื้อก้อนเห็ดนางฟ้า 1,000 ก้อน ก้อนละ 7 บาท
3. เพาะเห็ดนางฟ้าในโรงเรือน ดูแลรดนำ้ เช้า - เที่ยง - เย็น โดยแกนนำนักเรียน 4 คน
4. จัดเก็บผลผลิตเช้า - เย็น เพื่อจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวันโรงเรียนประกอบอาหาร ได้แก่ ต้มยำไก่ ผัดกะเพราหมูใส่เห็ด ลาบเห็ด ฯลฯ 5. นำผลผลิตกระจายสู่ชุมชน
6. นำผลผลิตแปรรูปเป็นเห็ดทอดกรอบ จำหน่ายในโรงเรียนและชุมชน
7. ขยายโรงเรือนเพาะเห็ดไปอีก 3 จุด คือ แท้งค์น้ำเก่า 3 ถัง
- โรงเรียนมีเห็ดนางฟ้าเพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- นักเรียนมีการแปรรูปเห็ด โดยทำเป็นเห็ดทอดกรอบ และแหนมเห็ด
- นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ
- นักเรียนได่รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ
- โรงเรียนมีการนำผลผลิตกระจายสู่ชุมชน
ประกอบด้วย
-โรงเรียนมีการเลี้ยงเป็ดไข่จำนวน 80 ตัว โดยมีกลุ่มนักเรียนแกนนำที่ดูแล จำนวน 5 คน ซึ่งมีหน้าที่ ดังนี้
1. ผสมอาหารเป็ด โดยนำรำอ่อน ปลายข้าว และ หัวอาหารเป็ด ผสมกัน สัปดาห์หนึ่งใช้ประมาณ 4 กระสอบปุ๋ย
2. ดูและให้อาหารเป็ด เช้า-เย็น
3. ทำความสะอาดคอกเป็ด เดือนละ 1 ครั้ง
4. จัดเก็บผลผลิต และจำหน่ายให้สกรณ์ร้านค้าโรงเรียน ในราคาฟองละ 4 บาท
5. จัดทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย การดำเนินกิจกรรมเลี้ยงเป็ดไข่
-โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ 54 ตัว โดยมีกลุ่มนักเรียนแกนนำที่ดูแล จำนวน 5 คน ซึ่งมีหน้าที่ ดังนี้
1. ดูและให้น้ำและอาหาร เช้า- เที่ยง-เย็น
2. ทำความสะอาดคอกเป็ด สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
3. จัดเก็บผลผลิต และจำหน่ายให้สกรณ์ร้านค้าโรงเรียน ในราคาฟองละ 3.33 บาท
4. จัดทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย การดำเนินกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่
- โรงเรียนมีไข่เป็ดและไข่ไก่ เพื่อประกอบอาหารกลงวันสำหรับนักเรียน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
- นักเรียนจัดทำการแปรรูปไข่เป็ด เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับไข่เป็ด โดยทำเป็นไข่เค็ม ขายให้โครงการอาหารกลางวันนักเรียนนำไปประกอบอาหารกลางวัน
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และเพียงพอต่อความต้องการ
- มีผลผลิตไข่หมุนเวียนเพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน และมีรายได้หมุนเวียนในโรงเรียน
- ผลผลติสามารถกระจายสู่ชุมชน โดยผ่านสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพด้านการเลี้ยงสัตว์
ประกอบด้วย
- คณะเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.บ้านหนองโจงโลงออกตรวจสุขภาพนักเรียนและฉีดวัคชืน (วันทีี 24 ส.ค. 2559)
- หน่วยทัตกรรมจาก รพ.บัวเชด ออกบริการตรวจฟันและแนนำให้ความรู้เรื่องการดูแลฟัน (วันที่ 29 ส.ค. 2559)
- ครูเวรประจำวันตรวจความสะอาดร่างกายของนักเรียนทุกๆวัน
- ครูอนามัยและแกนนำนักเรียน วัดนำ้หนัก ส่วนสูง และแปรผลภาวะโภชนาการนักเรียนทุกๆเดือน
1. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจร่างกายและการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
2. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพและตรวจฟันจากบุคากรสาธารณสุขและ รพ.บัวเชด สำหรับนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพฟัน ได้รับการส่งต่อรักษาที่ โรงพยาบาลบัวเชด
3. นักเรียนทุกคนรู้จักดูแลและใส่ใจความสะอาดของร่างกายและสุขภาพขอนตนเองดีขึ้น ทำให้ไม่เจ็บป่วยบ่อย และร่างกายมีภูมิต้านทาน
4. นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงและมีภาวะโชนาการดีขึ้น สำหรับคนที่มีปัญหาก้ได้รับการแก้ไขปัญหา
5. ครูอนามัย ครูเวรประจำวัน ตรวจสุขภาพด้านต่างๆ ของนักเรียนเป็นประจำ
6. นักเรียนเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำในการดูแลช่วยเหลือกัน
ประกอบด้วย
- พานักเรียนที่เป็นแกนนำการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน จำนวน 11 คนครูจำนวน 9 น และผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 40 คน ศึกษาดูงานการดำเนินกิจกรรมสกรณ์ที่โรงเรียนบ้านโคกจำเริญ สพป.สุรินทร์ เขต 3 และสหกรณ์ผกาสะเร็น อ.ปราสาทในวันที่ 9 สิงหาคม 2559
- แกนนำนักเรียนดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าในโรงเรียน และมีนักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนเป็นสมาชิก
- นักเรียนแกนนำดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ โดยมีนักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม
- นักเรียนแกนนำดำเนินกิจกรรมสหกรณ์การเกษตร ซึ่งมีผลผลิต ได้แก่ เห็ด พืชผัก ไข่เป็ด ไข่ไก่ และปลา
- โรงเรียนได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์และการสนับสนุนงบประมาณจากสกรณ์อำเภอบัวเชด 2,000 บาท
- สหกรณ์นักเรียนจัดจำหน่ายเฉพาะผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ และอุปกรณ์การเรียน (ปลอดนำ้อัดลมและขนมกรุบกรอบ)
- คณะกรรมการสหกรณ์ดำเนินกิจกรรมและจัดทำบัญชีต่างๆของสหกรณ์ตลอดปีการศึกษา
- มีคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนที่จัดตั้งและดำเนินการโดยนักเรียน มีนักเรียนเป็นสมาชิกและมีวาระในการทำงานอย่างน้อย 1 ปีการศึกษา
- มีสมาชิกซึ่งประกอบด้วยนักเรียน และครู บุคลากรในโรงเรียน ปุัจจุบันมีจำนวนสมาชิก 74 คน คิดเป็นร้อยละ 71.84
- นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่มรียน มีความรู้ ความเข้าใจการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์มากขึ้นและสามารถนำมาขยายผลให้กับนักเรียนในโรงเรียนได้
ุ6. นักเรียนเข้าใจหลักการดำเนินงานของสหกรณ์ ฝึกความรอบคอบในการจัดทำบัญชี และฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย
- ครู มีความเข้าใจในกิจกรรมสหกรณ์ และสามารถนำมาบูรราการในการจัดการเรียนรู้ได้
- ผู้ปกครองมีความเข้าใจในการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์ของนักเรียน และให้การสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น
ประกอบด้วย
นักเรียนมีการทำความสะอาดห้องเรียนและบริเวณโรงเรียนทุกครั้ง มีรายละเอียดดังนี้ (เช้า - เย็น) 1. นักเรียนแยกขยะในชั้นเรียนของตนเองก่อนนำทิ้ง 2. นักเรียนทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนตามเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ 3. นักเรียนนำขยะบางชนิดกลับมาใช้ประโยชน์อีก
- นักเรียนชั้น อ. 1 - ป. 6 จำนวน 94 คน มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
- นักเรียนชั้น อ. 1 - ป. 6 จำนวน 94 คน ทำความสะอาดบริเวณเขตพื้นที่รับผิดชอบตอนเช้าทุกวัน 3. นักเรียนนำวิธีการคัดแยกขยะไปใช้ในครัวเรือนของตนเองและขยายผลไปยังเพื่อนบ้านใกล้เคียง
- นักเรียนเห็นคุณค่าของการแยกขยะ และนำวัสดุบางชนิดที่ใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์อีก เช่น การทำตะกร้าจากกระดาษ การทำกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
ประกอบด้วย

มีการตรวจเครื่องกรองน้ำดื่ม โดยเปลี่ยนไส้กรอง ทำความสะอาด เทอมละ 1 ครั้ง
1. ปรับปรุงเครื่องกรองน้ำดื่มโดยเปลี่ยนใส้กรองเครืองกรองน้ำดื่มทุกๆเทอม
2. จัดทำระบบน้ำดื่มสะอาด บริการนักเรียนและคร บุคลากรในโรงเรียน
- นักเรียน ครูและบุคลากรในโรงเรียนได้ดื่มน้ำดื่มที่สะอาด ปลอดภัย
- โรงเรียนมีจุดบริการนำ้ดื่มสะอาด 1 จุด สำหรับบริการนักเรียน และครู อย่างเพียงพอ
ประกอบด้วย

- โรงเรียนมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียน และประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียน คัดกรองนักเรียนแต่ละกลุ่ม และดำเนินการแก้ไข พัฒนานักเรียน จำนวนนักเรียนที่ได้รับการตรวจ 94 คน ในระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถม 6
- โรงเรียนมีการส่งเสริมสมรรถภาพทางกายนักเรียน โดยจัดกิจกรรมออกกำลังกายทุกวันพฤหัสบดี กิจกรรมการเล่นก๊ฬาและการแข่งขันกีฬาสี
- ครูประจำชั้นดำเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
1. นักเรียนจำนวน 94 คน พบว่า
- มีนักเรียนมีน้ำหนักอยู้ในเกณฑ์ปกติ...67...คน มีภาวะคอนข้างผอมและผอม...17....คน เริ่มอ้วนและอ้วน...10..คน
- มีส่วนสูงตามเกณฑ์.....80.......คน ตค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย.......14.....
3. นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัย โดยในปลายเทอมที่ 1 ปีการศึกษา 2559 มีนักเรียนที่ทดสอบสมรรถภาพทางกายทั้งสิ้น 92 คน มีสมรรถภาพทางกายตามวัย จำนวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 89.13 สำหรับนักเรียนที่ไม่ได้รับการทดสอบ คือ ด.ญ.กรรณิกา แรงทอง (พิการด้านร่างกาย) และ ด.ช. รัชชานนท์ บุบพิ (ผ่าตัดลิ้นหัวใจรั่ว)
4.ครูและผู้ปกครองรับทราบข้อมูลนำไปสู่การแก้ไข โดยการปรับเมนูอาหารกลางวัน และกิจกรรมออกกำลังกายที่เหมาะสมกับเด็ก
ประกอบด้วย
- ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนร่วมพัฒนาบริบท อาคารสถานที่ในโรงเรียน
- โรงเรียนให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เพื่อนำไปปฏิบัติที่บ้าน
- นักเรียนทุกคนร่วมกันทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนทุกวัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันพัฒนาห้องเรียนของตนเองให้สะอาด ปลอดภัยต่อสุขภาพของนักเรียน
- อาคารสถานที่ บริเวณรอบโรงเรียน และสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียน สะอาด ปลอดภัย น่าอยู่ น่าเรียน
- นักเรียนให้ความร่วมมือทำกิจกรรมเสียสละ เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม เช่น ความสะอาดบริเวณโรงเรียน ชุมชน ดูแลและใช้ส้วมให้ถูกสุขลักษณะ ทิ้งขยะในที่รองรับ และใช้ของอย่างประหยัด
- นักเรียนมีความสุขในการเรียน
- นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยบ่อย
ประกอบด้วย
- โรงเรียนจัดทำรายการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโดยใช้โปรแกรม TCL
- โรงเรียนจัดอาหารโดยส่งครู และแม่ครัวเข้ารับการอบรมด้านการจัดรายการอาหาร และการปรุงอาหารกลางวันที่ถูกสุขลักษณะ
- ครูทุกคน และแม่ครัว ตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วน ที่นักเรียนต้องการ
- โรงเรียนมีการกำกับ ติดตาม การประกอบอาหารของแม่ครัวอย่างใกล้ชิด
- โรงเรียนจัดอาหารว่าง ผลไม้ และเครื่องดื่มได้มาตรฐาน โดยในสหกรณ์โรงเรียนไม่ขายน้ำอัดลมและเครื่องดื่มที่มีรสหวาน
- โรงเรียนจัดทำรายการอาหารกลางวันล่วงหน้า อย่างน้อย 1 เดือน โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ตามมาตรฐานโภชนาการซึ่งสอดคล้องกับภาวะสุขภาพและผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว์ ในโรงเรียน
- แม่ครัวโรงเรียนมีการปรุงอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย
- ครูทุกคนตักอาหารให้นักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนความต้องการของนักเรียนแต่ละคนและทันเวลา โดยเด็กอ้วน และผอม และน้ำหนักปกติ จะตักอาหารให้ไม่เท่ากัน เพื่อแก้ไขภาวะโภชนาการของนักเรียนรายคน
- โรงเรียนจัดอาหารว่าง ผลไม้ ขนม เครื่องดื่มได้มาตรฐานโภชนาการ
- นักเรียนไม่เกิดโรคระบาดของอาหารเป็นพิษ
ุ6. ผลจากการดำเนินการตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน จากการเก็บข้อมูลพบว่า
- เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน 2559 มีนักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างผอมและผอม จำนวน 16 คน มีจำนวนคนคงที่ แต่มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น 9 คน สำหรับนักเรียนที่มีภาวะผอม ก็มีพัฒนาด้านนำ้หนักมาเป็นค่อนข้างผอม แต่ยังต้องเสริมพัฒนาต่อไป
- เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน 2559 มีนักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย จากจำนวน 1ุ6 คน ลดลงเหลือ 14 คน
- เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน 2559 มีนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน จากจำนวน 1ุ1 คน ลดลงเหลือ 10 คน
ประกอบด้วย
- จัดกิจกรรมประชุมครู ผู้ปกครองนักเรียน ร่วมประกาศนโยบาย ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2559 ณ โรงเรียนบ้านหนองเหล็ก(กองทัพบกอุปถัมภ์)
- จัดกิจกรรมศึกษา แลกเปลี่ยนรู้ การดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส กิจกรรมการเกษตรและกิจกรรมสหกรณ์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2559 ที่โรงเรียนบ้านโคกจำเริญ สพป.สุรินทร์เขต 3 สหกรณ์ผกาสะเร็น และตลาดน้ำราชมงคล
- ครู ผู้ปกครอง และชุมชนรับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ครู ผู้ปกครอง และชุมชน ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงาน จำนวน 50 คน
- ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำคู่มือปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ครู ผู้ปกครอง และชุมชนร่วมจัดทำคู่มือกิจกรรม แก้มใสใส่ใจสุขภาพเด็ก และสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส
- ครูผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน มีความเข้าใจในนโยบายและแนวปฏิบัติการดำเนินโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสมากขึ้น โดยมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมดังนี้
- การส่งเสริมผลผลิตทางการเกษตรในชุมชนเพื่อนำ่สู่โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
- การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ปรับปรุงบริบทโรงเรียน
- การดูแล ส่งเสริมสุขภาพ บุตรหลาน
ประกอบด้วย
- ครูจำนวน 2 คน เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการใช้โปรแกรม Thai School Lunch และระบบเฝ้าระวังโภชนาการ(ที่กรุงเทพฯ)
- ครูจำนวน 1 คน และแม่ครัว ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนาคุณภาพอาหารกลางวันในโรงเรียน (สพป.สุรินทร์ เขต 3 จัดวันที่ 31 กรกฎาคม 2559)
- บุคลากรที่ดูแลโครงการฯ ได้เข้ารับการอบรมโรงเรียนละ 2 คน
- บุคลากรสามารถใช้โปรแกรม TSLในการวางแผนจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างถูกต้อง
ประกอบด้วย