แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน ”
52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์
หัวหน้าโครงการ
นายสุรศักดิ์ ปิ่นเพชร
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
ที่อยู่ 52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-069 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.23
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหัวสะพาน จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหัวสะพาน " ดำเนินการในพื้นที่ 52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ศรร.1312-069 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหัวสะพาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 234 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านหัวสะพานจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
- 2. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน
- 3. เพื่อปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมสหกรณ์การผลิต สหกรณ์ร้านค้าดูแลเรื่องอาหารหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ
- 4. เพื่อพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
- 5. เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ โปรแกรม Thai School Lunch
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านหัวสะพานเป็นโรงเรียนเรียนรู้ของชุมชนและเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานได้รับการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ครูเวรจัดซื้ออาหารสด ผัก ผลไม้ และเครื่องปรุงเพื่อใช้ประกอบอาหารให้นักเรียนในแต่ละวันให้ครบ 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาตรฐานอาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณภาพ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน นักเรียนจัดทำบัญชีรับ-จ่าย เป็นปัจจุบัน
2.ครูเวรมีหน้าที่จัดซื้อผลผลิตทางการเกษตร เพื่อประกอบอาหารกลางวันในแต่ละวันให้กับนักเรียนตามเมนู Thai school luch
3.แม่ครัวประกอบอาหารและอาหารว่าง ให้กับนักเรียนอย่างถูกสุขลักษณะ อาหารสด สะอาด ตามหลักโภชนาการอาหาร
4.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต ( Output )
1. โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้รับความรู้ เทคโนโลยี การจัดบริการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย
2. โรงเรียนได้พัฒนาการจัดอาหารได้มาตรฐานโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร
ผลลัพธ์ ( Outcome )
1. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการบริการอาหารของโรงเรียนนำมาตรฐานโภชนาการ ไปจำแนกอาหาร ขนม นม และเครื่องดื่มในโรงเรียนได้ถูกต้อง
2. นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีคุณตค่าทางโภชนาการ
553
425
2. นักเรียนแปรงฟันวันละ 2ครั้ง,ล้างมือ 7 ขั้นตอน,วิ่งวันละ 2 รอบสนาม/เดินวันละ 2,000 ก้าว จัดหาแปรงสีฟัน/ยาสีฟัน/แก้วน้ำ/น้ำยาล้างมือและสื่อวัสดุในการจัดกิจกรรมให้กับนักเรียน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ ฟัน จากบุคลากกรจาก โรงพยาบาลชำนิ และ รพ.สต.หนองตาเปล่ง
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ครูอนามัย/ครูประจำชั้น ประเมินสุขบัญญัติพฤติกรรมการกินของนักเรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ อ.1 - ม.3 ปีละ 2 ครั้ง
2.ครูจัดหาอุกปรณ์แปรงฟัน เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน แก้วน้ำ ให้ทุกคน
3.ครูจัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกวัน
4.ครูจัดหาน้ำยาล้างมือ และให้นักเรียนล้างมือ 7 ขั้นตอนก่อนรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน (ใช้เพลงเป็นสัญญาณแปรงฟันล้างมือ)
5.ครูจัดกิจกรรมวิ่งรอบสนามวันละ 2 รอบ/เดินวันละ 2,000 ก้าวทุกวัน
6.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ครูอนามัย ตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปี ตรวจ ตา เหา ฟัน ความสะอาดของร่างกาย พบเด็กที่มีปัญหาสุขภาพส่งต่อรพ.สตหนองตาเปล่ง/โรงพยาบาลชำน
ึ7.ครูอนามัย/ครูประจำชั้น/นักเรียนแกนนำ ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง นักเรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ อ.1-ม.3 เทอมละ 1 ครั้ง โดยใช้โปรแกรมคิดคำนวณของมหิดล
8.ครูพลศึกษาทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนทุกชั้นเรียน รายปี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน
จำนวน 215คน มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์
2. นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน
จำนวน 215คน ได้รับการตรวจฟันจากบุคลากรสาธารณสุข
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ร้อยละ80ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานมี
สุขนิสัยที่พึงประสงค์
2.นักเรียนจำนวน 215 คนปลอดเหา
3.นักเรียนจำนวน 215คนมีฟันพุแท้ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 1
236
234
3. ประชุมครู ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ผู้รับผิดชอบทำหนังสือเชิญประชุมครู ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ประจำทุกหมู่บ้าน, เจ้าหน้าที่ รพ.สต.,ผู้นำนักเรียน รับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กทไยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต(Output)
1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน รับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน เข้าใจนโยบ่ายแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส
445
452
4. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ระดมความคิดเห็นจากชุมชน ผู้แทนผู้ปกครอง ครู ผู้แทนนักเรียน ผู้นำชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนหาข้อสรุปร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติงานร่วมกันตามกิจกรรมดังนี้
1. แก้มใสใส่ใจลูกรัก
2. การสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส
3. การจัดความรู้ด้านสุขภาพ/และการป้องกัน "ลดหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม"
4. การปลูกพืชผักสวนครัว/ชุมชนปลอดขยะ
5. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต(Output)
1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงาน
2. หน่วยงานสนับสนุนได้จัดกิจกรรมร่วมกันและวางแนวทางการทำงานสู่ความสำเร็จด้วยกัน
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงาน ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงาน
และสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส
234
293
5. จัดอบรมให้กับครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียน
วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เชิญประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและนักเรียนเข้าร่วมประชุมชี้แจงนโยบายและวางแผนจัดทำแผนปฎิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
2.ดำเนินการจัดทำแผนปฎิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใสให้ครอบคลุมทั้ง 8 องค์ประกอบ
3.จัดอบรมขยายเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส(ความรู้สู่การปฎิบัติ) โดยเชิญครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูอนามัย ครูอาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ผู้แทนผู้ปกครองในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียน เพื่อร่วมอบรมนำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
2.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
3. ครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง
ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียนจำนวน 131 คน รับรู้เข้าใจสามารถปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส
445
445
6. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1
วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เรียนรู้ทำความเข้าใจที่ถูกต้องจากวิทยากรด้านการเงิน เจ้าหน้าการเงิน และเจ้าหน้าที่จัดทำรายงานระบบออนไลน์
2.ลงมือปฎิบัติจริงในการจัดทำเอกสารการเงินและลงข้อมูลระบบออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1
2
2
7. เลี้ยงสุกรขุน
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดซื้อพันธุ์สุกรจำนวน 10 ตัว และหัวอาหาร
2. เลี้ยงสุกรขุนและดูแลให้หัวอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีเนื้อสุกรขุนเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
234
0
8. เลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน เพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนและการแปรรูปอาหาร
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดซื้อพันธุ์ปลาดุกและหัวอาหาร
2.เลี้ยงปลาดุกในบ่อดินและการดูแลให้อาหารปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีปลาดุกเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
234
234
9. สหกรณ์การผลิตและ สหกรณ์ร้านค้ารับซื้อพืชผักสวนครัวการเกษตรในโรงเรียนและจำหน่ายเป็นวัตถุดิบประกอบอาหารให้กับโครงการอาหารกลางวันนักเรียนและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์โครงการเข้าค่ายเยาวชนต้นกล้าสหกรณ์
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อค่าวัสดุอุปกรณ์ร่วมสนับสนุนโครงการเข้าค่ายเยาวชนต้นกล้าสหกรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนที่จัดตั้งและดำเนินการโดยนักเรียน
- มีระบบรับสมัครสมาชิกด้วยความสมัครใจเปิดกว้างสำหรับนักเรียนทุกคนและมีการเก็บค่าหุ้น
- มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปีและมีรายงานการประชุม
- มีการจัดทำบัญชี รับ-จ่าย ประจ าวันบัญชีสินค้า บัญชีสมาชิกและมีสรุปบัญชีประจำปี
5.มีกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า, กิจกรรมออมทรัพย์(ธนาคารโรงเรียน)และกิจกรรมสหกรณ์การผลิตที่ดำเนินการโดยนักเรียน
- นักเรียนเข้าใจหลักการการดำเนินงานของสหกรณ์ ฝึกความรอบคอบในการจัดทำบัญชีและฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย
- นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม
200
200
10. คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ยปิดโครงการเรียบร้อย
0
0
11. ร่วมจัดนิทรรศการในงาน open house โรงเรียนบ้านหัวสะพาน เชิญโรงเรียนเครือข่ายมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สิ้นปีการศึกษา 2559
วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์
-จัดป้ายนิเทศแสดงผลงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.จัดนิทรรศการในงาน open house โรงเรียนบ้านหัวสะพานเชิญโรงเรียนเครือข่ายมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ้นปีการศึกษา 2559
2.โรงเรียนแสดงผลงานเผยแพร่โครงการให้เป็นที่รู้จักกับสาธารณะชนในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2
415
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
ตัวชี้วัด : 1. ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
2. ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงาน
จำนวน 92 คนร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงาน
และสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส
3. ครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง
ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียนจำนวน 131 คน รับรู้เข้าใจสามารถปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียนจำนวน 131 คน เข้าใจสามารถปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส
2
2. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนจำนวน 215 คน
ได้รับอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ
- เพียงพอต่อความต้องการทุกคน
3
3. เพื่อปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมสหกรณ์การผลิต สหกรณ์ร้านค้าดูแลเรื่องอาหารหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ
ตัวชี้วัด : 1. มีกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า, กิจกรรมออมทรัพย์(ธนาคารโรงเรียน)และกิจกรรมสหกรณ์การผลิตที่ดำเนินการโดยนักเรียน
2. นักเรียนเข้าใจหลักการการดำเนินงานของสหกรณ์ ฝึกความรอบคอบในการจัดทำบัญชี และฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย
3. นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม
- มีกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า, กิจกรรมออมทรัพย์(ธนาคารโรงเรียน)และกิจกรรมสหกรณ์การผลิตที่ดำเนินการโดยคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนเข้าใจหลักการการดำเนินงานของสหกรณ์ ในการจัดทำบัญชี และฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย
- นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม
4
4. เพื่อพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ80ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานมี
สุขนิสัยที่พึงประสงค์
2. นักเรียนจำนวน 215 คนปลอดเหา
3. นักเรียนจำนวน 215คนมีฟันพุแท้ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 1
- ร้อยละ80ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานมี สุขนิสัยที่พึงประสงค์
- นักเรียนจำนวน 215 คนปลอดเหา
- นักเรียนจำนวน 215คนมีฟันพุแท้ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 1
5
5. เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ โปรแกรม Thai School Lunch
ตัวชี้วัด : 1. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการบริการอาหารของโรงเรียนนำมาตรฐานโภชนาการ ไปจำแนกอาหาร ขนม นม และเครื่องดื่มในโรงเรียนได้ถูกต้อง
2. นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีคุณตค่าทางโภชนาการ
- ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการบริการอาหารของโรงเรียนนำมาตรฐานโภชนาการ ไปจำแนกอาหาร ขนม นม และเครื่องดื่มในโรงเรียนได้ถูกต้อง
- นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ (2) 2. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน (3) 3. เพื่อปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมสหกรณ์การผลิต สหกรณ์ร้านค้าดูแลเรื่องอาหารหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ (4) 4. เพื่อพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน (5) 5. เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ โปรแกรม Thai School Lunch
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
รหัสโครงการ ศรร.1312-069 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
1.รูปแบบการผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานสอดคล้องกบวิถีชีวิตกับชุมชน
1.มีการกำหนดเป้าหมายและวางแผนการผลิตการเกษตรชัดเจนในด้านปริมาณการผลิต การดูแลบำรุงรักษาโดยเน้นการใช้วิธีทางธรรมชาติ มีการจดบันทึกผลจากการทำ ผลผลิตทางการเกษตรนำมาขายผ่านร้านสหกรณ์ในโรงเรียน สหกรณ์การผลิตให้แก่โรงครัวเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ส่งผลให้นักเรียนมีโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง
จัดกิจกรรมดำเนินอย่างต่อเนื่องในปีต่อๆไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
1.จัดตั้งสหกรณ์นักเรียน
1.ดำเนินการโดยนักเรียนและมีนักเรียนเป็นสมาชิกมีครูที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์เพื่อช่วยเหลือให้คำแนะนำในการดำเนินงานตามขั้นตอนผลการจัดตั่งสหกรณ์นักเรียน นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำงานสหกรณ์ เช่น การทำงานร่วมกัน การประชุม การจดบันทึกบัญชี ค้าขาย รายรับ-รายจ่าย
จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.กิจกรรมโครงการอาหารกลางวันนักเรียน
การจัดบริการอาหารของนักเรียนโดยจะจัดบริการ 1 มื่้อ อาหารหลักคือ อาหารกลางวัน และอาหารเสริมนม 1 มื้อ (ว่างเช้าหรือบ่าย)เป็นการจัดบริการฟรีให้แก่เด็กทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับประถมศึกษา ผลจากการจัดบริการอาหารกลางวันนักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย บริโภคทุกวันตลอดปีการศึกษา
จัดกิจกรรมอาหารกลางวันนักเรียนอย่างต่อเนื่องทุกวันโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน
โดยครูอนามัยโรงเรียน ครูประจำชั้น และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอ ด้วยวิธีการ สำรวจชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงทุกชั้นเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง
จัดระบบติดตามภาวะโภชนาการและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ 7 ขั้นตอน
จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง ได้แก่ การล้างมือ 7 ขั้นตอน การใช้ช้อนรับประทานอาหาร การใช้ช้อนกลางเมื่อรับประทานอาหารร่วมผู้อื่น การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารรวมทั้งฝึกมารยาท ฝึกปฎิบัติในช่วงเวลารับประทานอาหารกลางวันก่อน-หลังรับประทานอาหาร ผลจากการจัดกิจกรรมเด็กมีสุขนิสัยที่ดีมากขึ้น
จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนทุกวันอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
อนามัยสิ่งแวดล้อมโรงเรียนสวยด้วยมือเรา
โดยครูทำหน้าที่กำกับดูแล วิธีการดูแลทำความสะอาดที่ถูกต้อง มีการจัดแบ่งกลุ่มตามชั้นเรียนเป็นกลุ่มๆ เพื่อดูแลรักษาความสะอาด โรงครัว โรงอาหาร ห้องส้วม การเก็บขยะรอบอาคารเรียน การแยกประเภทขยะ ให้ถูกสุขลักษณะ จะใช้เวลาช่วงเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ จัดทำความสะอาดในห้องเรียนและภายในโรงเรียน ผลจากการปฎิบัติ ภาพสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนสะอาดถูกสุขลักษณะ น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
จัดกิจกรรมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะทุกวันอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านหัวสะพาน จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-069
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุรศักดิ์ ปิ่นเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน ”
52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์
หัวหน้าโครงการ
นายสุรศักดิ์ ปิ่นเพชร
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-069 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.23
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหัวสะพาน จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหัวสะพาน " ดำเนินการในพื้นที่ 52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ศรร.1312-069 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหัวสะพาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 234 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านหัวสะพานจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
- 2. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน
- 3. เพื่อปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมสหกรณ์การผลิต สหกรณ์ร้านค้าดูแลเรื่องอาหารหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ
- 4. เพื่อพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
- 5. เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ โปรแกรม Thai School Lunch
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านหัวสะพานเป็นโรงเรียนเรียนรู้ของชุมชนและเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานได้รับการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ครูเวรจัดซื้ออาหารสด ผัก ผลไม้ และเครื่องปรุงเพื่อใช้ประกอบอาหารให้นักเรียนในแต่ละวันให้ครบ 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาตรฐานอาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณภาพ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน นักเรียนจัดทำบัญชีรับ-จ่าย เป็นปัจจุบัน 2.ครูเวรมีหน้าที่จัดซื้อผลผลิตทางการเกษตร เพื่อประกอบอาหารกลางวันในแต่ละวันให้กับนักเรียนตามเมนู Thai school luch 3.แม่ครัวประกอบอาหารและอาหารว่าง ให้กับนักเรียนอย่างถูกสุขลักษณะ อาหารสด สะอาด ตามหลักโภชนาการอาหาร 4.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ( Output )
1. โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้รับความรู้ เทคโนโลยี การจัดบริการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย
2. โรงเรียนได้พัฒนาการจัดอาหารได้มาตรฐานโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร
|
553 | 425 |
2. นักเรียนแปรงฟันวันละ 2ครั้ง,ล้างมือ 7 ขั้นตอน,วิ่งวันละ 2 รอบสนาม/เดินวันละ 2,000 ก้าว จัดหาแปรงสีฟัน/ยาสีฟัน/แก้วน้ำ/น้ำยาล้างมือและสื่อวัสดุในการจัดกิจกรรมให้กับนักเรียน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ ฟัน จากบุคลากกรจาก โรงพยาบาลชำนิ และ รพ.สต.หนองตาเปล่ง |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.ครูอนามัย/ครูประจำชั้น ประเมินสุขบัญญัติพฤติกรรมการกินของนักเรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ อ.1 - ม.3 ปีละ 2 ครั้ง 2.ครูจัดหาอุกปรณ์แปรงฟัน เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน แก้วน้ำ ให้ทุกคน 3.ครูจัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกวัน 4.ครูจัดหาน้ำยาล้างมือ และให้นักเรียนล้างมือ 7 ขั้นตอนก่อนรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน (ใช้เพลงเป็นสัญญาณแปรงฟันล้างมือ) 5.ครูจัดกิจกรรมวิ่งรอบสนามวันละ 2 รอบ/เดินวันละ 2,000 ก้าวทุกวัน 6.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ครูอนามัย ตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปี ตรวจ ตา เหา ฟัน ความสะอาดของร่างกาย พบเด็กที่มีปัญหาสุขภาพส่งต่อรพ.สตหนองตาเปล่ง/โรงพยาบาลชำน ึ7.ครูอนามัย/ครูประจำชั้น/นักเรียนแกนนำ ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง นักเรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ อ.1-ม.3 เทอมละ 1 ครั้ง โดยใช้โปรแกรมคิดคำนวณของมหิดล 8.ครูพลศึกษาทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนทุกชั้นเรียน รายปี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน
จำนวน 215คน มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์
2. นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน
จำนวน 215คน ได้รับการตรวจฟันจากบุคลากรสาธารณสุข
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ร้อยละ80ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานมี
สุขนิสัยที่พึงประสงค์
2.นักเรียนจำนวน 215 คนปลอดเหา
3.นักเรียนจำนวน 215คนมีฟันพุแท้ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 1
|
236 | 234 |
3. ประชุมครู ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ผู้รับผิดชอบทำหนังสือเชิญประชุมครู ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ประจำทุกหมู่บ้าน, เจ้าหน้าที่ รพ.สต.,ผู้นำนักเรียน รับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กทไยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต(Output) 1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน รับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส ผลลัพธ์ (Outcome) 1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน เข้าใจนโยบ่ายแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส
|
445 | 452 |
4. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำระดมความคิดเห็นจากชุมชน ผู้แทนผู้ปกครอง ครู ผู้แทนนักเรียน ผู้นำชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนหาข้อสรุปร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติงานร่วมกันตามกิจกรรมดังนี้ 1. แก้มใสใส่ใจลูกรัก 2. การสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส 3. การจัดความรู้ด้านสุขภาพ/และการป้องกัน "ลดหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม" 4. การปลูกพืชผักสวนครัว/ชุมชนปลอดขยะ 5. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต(Output)
1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงาน
|
234 | 293 |
5. จัดอบรมให้กับครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียน |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เชิญประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและนักเรียนเข้าร่วมประชุมชี้แจงนโยบายและวางแผนจัดทำแผนปฎิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส 2.ดำเนินการจัดทำแผนปฎิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใสให้ครอบคลุมทั้ง 8 องค์ประกอบ 3.จัดอบรมขยายเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส(ความรู้สู่การปฎิบัติ) โดยเชิญครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูอนามัย ครูอาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ผู้แทนผู้ปกครองในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียน เพื่อร่วมอบรมนำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
2.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
3. ครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง
ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียนจำนวน 131 คน รับรู้เข้าใจสามารถปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส
|
445 | 445 |
6. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 |
||
วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เรียนรู้ทำความเข้าใจที่ถูกต้องจากวิทยากรด้านการเงิน เจ้าหน้าการเงิน และเจ้าหน้าที่จัดทำรายงานระบบออนไลน์ 2.ลงมือปฎิบัติจริงในการจัดทำเอกสารการเงินและลงข้อมูลระบบออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1
|
2 | 2 |
7. เลี้ยงสุกรขุน |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดซื้อพันธุ์สุกรจำนวน 10 ตัว และหัวอาหาร 2. เลี้ยงสุกรขุนและดูแลให้หัวอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีเนื้อสุกรขุนเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
|
234 | 0 |
8. เลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน เพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนและการแปรรูปอาหาร |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดซื้อพันธุ์ปลาดุกและหัวอาหาร 2.เลี้ยงปลาดุกในบ่อดินและการดูแลให้อาหารปลา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีปลาดุกเพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
|
234 | 234 |
9. สหกรณ์การผลิตและ สหกรณ์ร้านค้ารับซื้อพืชผักสวนครัวการเกษตรในโรงเรียนและจำหน่ายเป็นวัตถุดิบประกอบอาหารให้กับโครงการอาหารกลางวันนักเรียนและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์โครงการเข้าค่ายเยาวชนต้นกล้าสหกรณ์ |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อค่าวัสดุอุปกรณ์ร่วมสนับสนุนโครงการเข้าค่ายเยาวชนต้นกล้าสหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
200 | 200 |
10. คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ |
||
วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยปิดโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ยปิดโครงการเรียบร้อย
|
0 | 0 |
11. ร่วมจัดนิทรรศการในงาน open house โรงเรียนบ้านหัวสะพาน เชิญโรงเรียนเครือข่ายมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สิ้นปีการศึกษา 2559 |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดทำเอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์ -จัดป้ายนิเทศแสดงผลงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.จัดนิทรรศการในงาน open house โรงเรียนบ้านหัวสะพานเชิญโรงเรียนเครือข่ายมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ้นปีการศึกษา 2559 2.โรงเรียนแสดงผลงานเผยแพร่โครงการให้เป็นที่รู้จักกับสาธารณะชนในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2
|
415 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ ตัวชี้วัด : 1. ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส 2. ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงาน จำนวน 92 คนร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงาน และสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส 3. ครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียนจำนวน 131 คน รับรู้เข้าใจสามารถปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนจำนวน 215 คน ได้รับอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการ |
|
|||
3 | 3. เพื่อปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมสหกรณ์การผลิต สหกรณ์ร้านค้าดูแลเรื่องอาหารหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ตัวชี้วัด : 1. มีกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า, กิจกรรมออมทรัพย์(ธนาคารโรงเรียน)และกิจกรรมสหกรณ์การผลิตที่ดำเนินการโดยนักเรียน 2. นักเรียนเข้าใจหลักการการดำเนินงานของสหกรณ์ ฝึกความรอบคอบในการจัดทำบัญชี และฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย 3. นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม |
|
|||
4 | 4. เพื่อพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ80ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานมี สุขนิสัยที่พึงประสงค์ 2. นักเรียนจำนวน 215 คนปลอดเหา 3. นักเรียนจำนวน 215คนมีฟันพุแท้ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 1 |
|
|||
5 | 5. เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ โปรแกรม Thai School Lunch ตัวชี้วัด : 1. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการบริการอาหารของโรงเรียนนำมาตรฐานโภชนาการ ไปจำแนกอาหาร ขนม นม และเครื่องดื่มในโรงเรียนได้ถูกต้อง 2. นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีคุณตค่าทางโภชนาการ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ (2) 2. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง ทั้งในและนอกโรงเรียน (3) 3. เพื่อปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมสหกรณ์การผลิต สหกรณ์ร้านค้าดูแลเรื่องอาหารหวาน มัน เค็ม และปลอดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ (4) 4. เพื่อพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน (5) 5. เพื่อพัฒนาต่อยอดการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ โปรแกรม Thai School Lunch
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
รหัสโครงการ ศรร.1312-069 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
1.รูปแบบการผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานสอดคล้องกบวิถีชีวิตกับชุมชน
1.มีการกำหนดเป้าหมายและวางแผนการผลิตการเกษตรชัดเจนในด้านปริมาณการผลิต การดูแลบำรุงรักษาโดยเน้นการใช้วิธีทางธรรมชาติ มีการจดบันทึกผลจากการทำ ผลผลิตทางการเกษตรนำมาขายผ่านร้านสหกรณ์ในโรงเรียน สหกรณ์การผลิตให้แก่โรงครัวเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ส่งผลให้นักเรียนมีโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง
จัดกิจกรรมดำเนินอย่างต่อเนื่องในปีต่อๆไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
1.จัดตั้งสหกรณ์นักเรียน
1.ดำเนินการโดยนักเรียนและมีนักเรียนเป็นสมาชิกมีครูที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์เพื่อช่วยเหลือให้คำแนะนำในการดำเนินงานตามขั้นตอนผลการจัดตั่งสหกรณ์นักเรียน นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำงานสหกรณ์ เช่น การทำงานร่วมกัน การประชุม การจดบันทึกบัญชี ค้าขาย รายรับ-รายจ่าย
จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.กิจกรรมโครงการอาหารกลางวันนักเรียน
การจัดบริการอาหารของนักเรียนโดยจะจัดบริการ 1 มื่้อ อาหารหลักคือ อาหารกลางวัน และอาหารเสริมนม 1 มื้อ (ว่างเช้าหรือบ่าย)เป็นการจัดบริการฟรีให้แก่เด็กทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับประถมศึกษา ผลจากการจัดบริการอาหารกลางวันนักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย บริโภคทุกวันตลอดปีการศึกษา
จัดกิจกรรมอาหารกลางวันนักเรียนอย่างต่อเนื่องทุกวันโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน
โดยครูอนามัยโรงเรียน ครูประจำชั้น และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอ ด้วยวิธีการ สำรวจชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงทุกชั้นเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง
จัดระบบติดตามภาวะโภชนาการและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ 7 ขั้นตอน
จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง ได้แก่ การล้างมือ 7 ขั้นตอน การใช้ช้อนรับประทานอาหาร การใช้ช้อนกลางเมื่อรับประทานอาหารร่วมผู้อื่น การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารรวมทั้งฝึกมารยาท ฝึกปฎิบัติในช่วงเวลารับประทานอาหารกลางวันก่อน-หลังรับประทานอาหาร ผลจากการจัดกิจกรรมเด็กมีสุขนิสัยที่ดีมากขึ้น
จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนทุกวันอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
อนามัยสิ่งแวดล้อมโรงเรียนสวยด้วยมือเรา
โดยครูทำหน้าที่กำกับดูแล วิธีการดูแลทำความสะอาดที่ถูกต้อง มีการจัดแบ่งกลุ่มตามชั้นเรียนเป็นกลุ่มๆ เพื่อดูแลรักษาความสะอาด โรงครัว โรงอาหาร ห้องส้วม การเก็บขยะรอบอาคารเรียน การแยกประเภทขยะ ให้ถูกสุขลักษณะ จะใช้เวลาช่วงเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ จัดทำความสะอาดในห้องเรียนและภายในโรงเรียน ผลจากการปฎิบัติ ภาพสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนสะอาดถูกสุขลักษณะ น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
จัดกิจกรรมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะทุกวันอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
รหัสโครงการ ศรร.1312-069 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | 1.รูปแบบการผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานสอดคล้องกบวิถีชีวิตกับชุมชน |
1.มีการกำหนดเป้าหมายและวางแผนการผลิตการเกษตรชัดเจนในด้านปริมาณการผลิต การดูแลบำรุงรักษาโดยเน้นการใช้วิธีทางธรรมชาติ มีการจดบันทึกผลจากการทำ ผลผลิตทางการเกษตรนำมาขายผ่านร้านสหกรณ์ในโรงเรียน สหกรณ์การผลิตให้แก่โรงครัวเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ส่งผลให้นักเรียนมีโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง |
จัดกิจกรรมดำเนินอย่างต่อเนื่องในปีต่อๆไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | 1.จัดตั้งสหกรณ์นักเรียน |
1.ดำเนินการโดยนักเรียนและมีนักเรียนเป็นสมาชิกมีครูที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์เพื่อช่วยเหลือให้คำแนะนำในการดำเนินงานตามขั้นตอนผลการจัดตั่งสหกรณ์นักเรียน นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำงานสหกรณ์ เช่น การทำงานร่วมกัน การประชุม การจดบันทึกบัญชี ค้าขาย รายรับ-รายจ่าย |
จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | 1.กิจกรรมโครงการอาหารกลางวันนักเรียน |
การจัดบริการอาหารของนักเรียนโดยจะจัดบริการ 1 มื่้อ อาหารหลักคือ อาหารกลางวัน และอาหารเสริมนม 1 มื้อ (ว่างเช้าหรือบ่าย)เป็นการจัดบริการฟรีให้แก่เด็กทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับประถมศึกษา ผลจากการจัดบริการอาหารกลางวันนักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย บริโภคทุกวันตลอดปีการศึกษา |
จัดกิจกรรมอาหารกลางวันนักเรียนอย่างต่อเนื่องทุกวันโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน |
โดยครูอนามัยโรงเรียน ครูประจำชั้น และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอ ด้วยวิธีการ สำรวจชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงทุกชั้นเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง |
จัดระบบติดตามภาวะโภชนาการและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | กิจกรรมกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ 7 ขั้นตอน |
จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง ได้แก่ การล้างมือ 7 ขั้นตอน การใช้ช้อนรับประทานอาหาร การใช้ช้อนกลางเมื่อรับประทานอาหารร่วมผู้อื่น การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารรวมทั้งฝึกมารยาท ฝึกปฎิบัติในช่วงเวลารับประทานอาหารกลางวันก่อน-หลังรับประทานอาหาร ผลจากการจัดกิจกรรมเด็กมีสุขนิสัยที่ดีมากขึ้น |
จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนทุกวันอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | อนามัยสิ่งแวดล้อมโรงเรียนสวยด้วยมือเรา |
โดยครูทำหน้าที่กำกับดูแล วิธีการดูแลทำความสะอาดที่ถูกต้อง มีการจัดแบ่งกลุ่มตามชั้นเรียนเป็นกลุ่มๆ เพื่อดูแลรักษาความสะอาด โรงครัว โรงอาหาร ห้องส้วม การเก็บขยะรอบอาคารเรียน การแยกประเภทขยะ ให้ถูกสุขลักษณะ จะใช้เวลาช่วงเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ จัดทำความสะอาดในห้องเรียนและภายในโรงเรียน ผลจากการปฎิบัติ ภาพสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนสะอาดถูกสุขลักษณะ น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน |
จัดกิจกรรมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะทุกวันอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านหัวสะพาน จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-069
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุรศักดิ์ ปิ่นเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......