แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) ”
182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางนิสา บรรจงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
ที่อยู่ 182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-102 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.06
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) " ดำเนินการในพื้นที่ 182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1412-102 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 231 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
- เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถความเข้าใจให้กับบุคลากรในโรงเรียนผู้ปกครอง และชุมชน
- เพื่อบูรณาการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเกษตรสหกรณ์ อาหารและโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนทุกคนของโรงเรียนท่างิ้ว( ต.ช.ด.อุปถัมภ์ )มีสุขภาพดีเติบโตสมวัยมีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้นมีทักษะชีวิต สามารถนำไปใช้ได้จริง
- โรงเรียนท่างิ้ว ( ต.ช.ด. อุปถัมภ์ ) มีรูปแบบลดปัญหาทุโภชนาการของนักเรียน
- พ่อแม่ ผู้ปกครองของนักเรียนทุกคนของโรงเรียนท่างิ้ว ( ต.ช.ด. อุปถัมภ์ ) มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคมในโรงเรียนและตำบลท่างิ้วให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การออมทรัพย์นักเรียน
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนทุกคน ทุกชั้นเรียนร่วกิจกรรมออมทรัพย์ วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 13.30 - 13.45
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
นักทุกคนในโรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
ผลลัพธ์
- นักเรียนทุกคนมีนิสัยรักการออม
- นักเรียนมีเงินออมและสามารถนำเงินออมมาใช้ประโยชน์ในการศึกษาของตนเอง
- ผู้ปกครองทุกคนมีความชื่นชมต่อนักเรียนและโรงเรียน
173
0
2. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- เกษตรตำบลและอาจารย์จากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรังให้ความรู้ด้านการทำการเกษตรแก่นักเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนปรับพื้นที่ที่ใช้ในการทำเกษตร
- จักซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก พันธุ์พืช ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
- นักเรียนลงมือปฏิบัติปลูกผัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- ผัก และพืชต่าง ๆ ที่ได้จากการเพาะปลูก นำผลผลิตเข้าสู้สหกรณ์นักเรียน และนำมาจัดทำอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน
ผลลัพธ์
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รับประทานผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนมีภาวะการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
- นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น
179
2
3. อบรมนักเรียนแกนนำ เรื่องระบบสหกรณ์
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เสนอโครงการ/กิจกรรมต่อผู้บริหาร
- ติดต่อประสานงานกับวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง
- นำนักเรียนแกนนำเข้าร่วมอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- ครู นักเรียน จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการ
ผลลัพธุ์
- นักเรียนแกนนำ จำนวน 30 คนได้รับความรู้เรื่องระบบสหกรณ์ และสามารถดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง
47
36
4. กิจกรรมเกษตรสวนผสม
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนศึกษา ดูงานการทำเกษตรแบบผสมผสาน
- จัดซื้อพันธุ์กล้วย พันธุ์มะนาวและท่อสำหรับปลูกมะนาว
- นักเรียนลงมือปฏิบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- นักเรียนได้รับประทานผลไม้ (กล้วย),(สัปปะรด) ที่ได้จากการปลูก
- มีมะนาวใช้สำหรับปรุงอาหารกลางวันให้นักเรียน
ผลลัพธุ์
- นักเรียนได้รับประทานผลไม้หลังอาหารกลางวัน
- มีวัตถุดิบที่เพียงพอสำหรับประกอบอาหารให้กับนักเรียย
199
0
5. กิจกรรมเมนูชวนชิม
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมครูและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน
- สำรวจวัตถุดิบในโรงเรียนและชุมชน
- จัดทำเมนูอาหาร โดยใช้โปรแกรม TSL
- นำเมนูอาหารที่จัดมาทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียนทุกคนรับประทาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียน จำนวน 163 คน ครู จำนวน 16 คน
2. โปรแกรม TSL ในการจัดเมนูอาหาร
3. วัตถุดิบในโรงเรียน ท้องถิ่น
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางโภชนาการ
2. ได้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ราคาถูก
3. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนมีความพึงพอใจ
189
189
6. กิจกรรมเลี้ยงปลาทับทิม
วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อพันธุ์ปลาทับทิม จำนวน 900 ตัว มาปล่อยลงในกระชังจำนวน 3 กระชัง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เลี้ยงปลาทับทิม จำนวน 900 ตัว เพื่อที่จะนำมาเป็นอาหารกลางวัน
201
0
7. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก
วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดเตรียมเตรียมสถานที่ในการเลี้ยงปลา (ขุดลอกสระ)
- ซื้อวัสดุทำกระชังปลา
- ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาแก่นักเรียน
- จัดซื้อพันธ์ุปลา
- นักเรียน ครู ลงมือปฏิบัติ (ปล่อยพันธุ์ปลาลงกระชังและสระ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
นักเรียน ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมโครงการจำนวน 131คน
ผลลัพธุ์
- นำปลาที่ได้จากการเลี้ยงจัดทำอาหารกลางวันแก่นักเรียน และที่เหลือนำมาขายแก่ผู้ปกครอง ชุมชน ผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน เพื่อสร้างรายได้ให้กับนักเรียน
- นักเรียนได้รับประทานปลาที่สด สะอาด ปลอดสารเคมี
179
131
8. การทำปุ๋ยหมัก
วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 14.30 น.กิจกรรมที่ทำ
- เสนอโครงการ/กิจกรรม
- เชิญวิทยากรจากเกษตรอำเภอมาให้ความรู้การทำปุ๋ยหมักแก่นักเรียนระดับชั้น ป.4 - ม.3
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการทำ
- แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 10 คน คุณครูที่ปรึกษา 1 คน
- นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- นักเรียนระดับชั้น ป.4 - ม.3 เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน96คน
- ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องจำนวน10 คน
ผลลัพธ์
- นักเรียนรู้จักกระบวนการกลุ่ม การทำงานเป็นทีม
- มีปุ๋ยหมักน้ำหมักชีวภาพไว้ใช้ในการเกษตรของโรงเรียน
- นักเรียน ครู มีความปลอดภัยจากการบริโภคสารเคมี
93
106
9. กิจกรรมลดอ้วนลดพุงโดยการจัดค่าย”รวมพลังขจัดอ้วน”
วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
๑. จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยงเป็นเวลา ๑ วัน โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้จาก รพ.สต.ท่างิ้ว
๒. ทุกวันหลังเลิกเรียนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนจะมาร่วมกันทำกิจกรรมเล่นฮูลาฮุปกัน ร่วมไปถึงนักเรียนคนอื่นๆด้วย บริเวณสนามของโรงเรียน นักเรียนส่วนใหญ่ชอบกิจกรรมนี้มา นักเรียนจะสลับกันเล่นอย่างสนุกสนาน โดยที่ลืมไปเลยว่านี้เป็นการลดน้ำหนัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการทำกิจกรรมนี้
๑. นักเรียนเกิดความสนุก ในการออกกำลังกาย โดยไม่คิดว่าเป็นการลดน้ำหนัก
๒. นักเรียนมีความรัก เสียสละ เพราะ ฮูลาฮุป ของโรงเรียนมีไม่พอกับจำนวนนักเรียนที่เข้ามาเล่น นักเรียนจะมีการแบ่งให้คนที่มาทีหลังเล่นด้วย
๓. นักเรียนใช้เวลาว่างหลังการเรียนให้เกิดประโยชน์
๔. นักเรียนส่วนใหญ่เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น
41
15
10. จัดกิจกรรม ให้ความรู้เรื่องของการทำบัญชีรายรับรายจ่าย
วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการจัดให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จำนวน ๑๒๐ คน ครู ๑๖ คน โดยมีวิทยาการจากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดตรัง มาให้ความรู้กับนักเรียน โดยมีการสอนให้นักเรียนทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตัวเอง โดยให้ ทำใบงาน และสอนลงบัญชีในสมุด " ต้นกล้าเศรษฐกิจพอเพียง " โดยการวิทยากรจัดกิจกรรมให้กับนักเรียนโดยนักเรียนส่วนใหญ่สนใจร่วมทำกิจกรรมกันอย่างสนุกสนาน หลังจบกิจกรรมนักเรียนแต่ละคนจะต้องทำบัญชีรายรับ รายจ่ายของตัวเองดดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้ตรวจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการจัดกิจกรรม
๑. นักเรียนรู้จักการประหยัด ใช้เงินอย่างมีสติ
๒. นักเรียนรู้จักคุณค่าของเงิน
180
178
11. กิจกรรมเปิดศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางโรงเรียนได้มีการจัดนักเรียนออกเป็น กลุ่มๆ ดังนี้ ๑ กลุ่มปลูกข้าวไร่ ๒ กลุ่มปลูกข้าวโพด ๓ กลุ่ม เลี้ยงปลาในกระชัง ๔ กลุ่ม ปลูกข้าวโพด ๕ กลุ่มปลูกมะนาวในท่อและปลูกกล้วย ๖ กลุ่มปลูกดอกดาวเรือง
มีการจัดนักเรียนเพื่อดูเเล ปราบวัชพืช และพรวนดินใส่ปุ๋ย เป็นระยะๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น และมีความสุขในการทำกิจกรรม และนักเรียนบางคนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำเกษตรของครอบครัว
239
0
12. กิจกรรมทำแผนเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับระบบสหกรณ์
วันที่ 19 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
๑. ประชุมบุคลากร ของโรงเรียน เพื่อว่างแผนจัดทำแผนเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับระบบสหกรณ์
๒. ครูที่เข้ารับการอบรมเื่องการทำแผนเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับระบบสหกรณ์ มาแนะนำขั้นตอนการทำแผนให้กับครูทุกคนทราบ
๓. แบ่งให้ครูประจำชั้นแต่ละชั้นทำแผนเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับระบบสหกรณ์ ขึ้น ชั้นละ รายวิชา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. ครูจะมีแนวทางในการจัดการสอนให้บูรณาการระบบสหกรณ์เข้ากับรายวิชาที่สอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
๒. นักเรียนได้รับประโยชน์จากการที่เรียนรู้ระบบสหกรณ์ผสมกับระบบเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร
0
16
13. กิจกรรมการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1
วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการชี้แจงสรุปรายละเอียดของการดำเนินงานในงวดที่ ๑ โดยตรวจสอบหลักฐานการใช้จ่ายเงินตามโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ดำเนินงานตามโครงการจะได้ทราบถึงรายละเอียดต่างๆในการจัดกิจกรรมและตรวจความเรียบร้อยของหลักฐานการใช้จ่ายเงินตามโครงการที่ถูกต้อง
2
0
14. จัดอบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง เรื่องสุขภาพดีไม่มีขาย
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรม สุขภาพดี...ไม่มีขาย ในเรื่องของ การไม่สูบบุหรี่ การดูแลสุขภาพให้แข็งแรงสมวัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนที่ครได้รับความรู้ไปใช้กับตัวเองและคนในครอบครัวตลอดถึงชุมชน
344
116
15. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทางโรงเรียนมีการดูแลนักเรียนในเรื่องของสุขภาพอย่างถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนทุกคนรู้จักการดูแลตัวเองที่ถูกต้อง ตลอดถึงการดูแลสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้สะอาด น่าอยู่
179
182
16. ห้องพยาบาล...พาสุข
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 11:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการจัดระบบในการใช้และดูแลห้องพยาบาลให้เกิดประโยชน์และปลอดภัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนทุกคนสามารถเข้าใช้บริการห้องพยาบาลได้ตลอดเวลา
179
179
17. กิจกรรม อย.น้อย
วันที่ 19 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เจ้าหน้าที่ให้ความรู้ พร้อมทำกิจกรรมต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรู้เรื่องการบริโภค เพิ่มมากขึ้น
109
0
18. ป้ายนิเทศส่งเสริมความรู้เรื่องอาหาร
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการจัดป้ายให้ความรู้กับนักเรียน เกี่ยวกับการดูแลตัวเอง การทานอาหารที่มีประโยชน์ การออกกำลังกาย และมีการบูรณาการสอนในทุกๆกลุ่มวิชา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรู้ เรื่องอาหาร การดูแลตัวเองอย่างเป็นระบบ
168
179
19. ศึกษาแหล่งเรียนรู้:การกำจัดขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู็นอกสถานศึกษา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสามารถกลับมาใช้กับการพัฒนาโรงเรียนของตัวเองได้
38
38
20. ศึกษา : เกษตรในโรงเรียน
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนได้ดูแปลงเกษตร และได้รับความรู้จากวิทยากร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสามารถนำความรู้มาใช้กับกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพ
51
51
21. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
1
22. กิจกรรมการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 2 และ 3
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดูเอกสาร ให้ถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รายงานผลงสดที่2และ3
2
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนในโรงเรียนไม่มีภาวะทุกโภชนาการ
2
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากชุมชนท่างิ้วเทศบาลตำบลท่างิ้ว ในการสนับสนุนการบริหารจัดการด้านอาหารให้กับนักเรียน ร้อยละ ๙๐
3
เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถความเข้าใจให้กับบุคลากรในโรงเรียนผู้ปกครอง และชุมชน
ตัวชี้วัด : ครูและบุคคลากร เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการบริหารจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียนร้อยละ ๑๐๐
4
เพื่อบูรณาการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเกษตรสหกรณ์ อาหารและโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนผู้ปกครอง คนในชุมชนท่างิ้ว มีความรู้ด้านการทำการเกษตร สามารถแปลงรู้อาหารที่ได้จากการเกษตร ร้อยละ๙๐
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร (3) เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถความเข้าใจให้กับบุคลากรในโรงเรียนผู้ปกครอง และชุมชน (4) เพื่อบูรณาการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเกษตรสหกรณ์ อาหารและโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
รหัสโครงการ ศรร.1412-102 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.06 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ผักปลอดสารพิษ
- ใช้เศษอาหาร เศษผัก(ผักกาด ผักบุ่ง ผักโขม มะเขือ เปลือกมะละกอ ฯลฯ) มาใช้เป็นวัตถุดิบในการทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการเกษตรของโรงเรียน และให้นักเรียนนำน้ำหมักกลับไปใช้ในการเกษตรในครัวเรือน ซึ่งเป็นการส่งเสริมความรู้ด้านการเกษตรปลอดภัยให้กับนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ทำให้นักเรียนได้บริโภคผัก เช่น ผักกาดผักโขมผักคะน้ามะเขือมะละกออย่างปลอดภัยจากสารเคมี และทำการเกษตรที่ปลอดสารพิษในชุมชน
-พัฒนาความรู้ทางวิชาการเกษตรใหม่ๆ นำไปประกอบอาชีพโดย
ส่งเสริมการปลูกผักตามความต้องการของชุมชน
-นำผลผลิตที่ได้มาแปรรูป และถนอมอาหาร เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างรายได้ให้กับนักเรียน เพื่อแก้ปัญหานักเรียนยากจน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
สหกรณ์วัยใส
มีการขายผักผ่านสหกรณ์นักเรียนและการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีร่วมกับสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จังหวัดตรัง
จัดทำระบบสหกรณ์ โดยใช้โปรแกรมจัดทำบัญชี และ โปรแกรมออมทรัพย์นักเรียนทุกคน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
Thai School Lunch
โรงเรียนมีการจัดเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch
รับผลผลิตทางการเกษตรสำหรับประกอบอาหารกลางวันจากเกษตรโรงเรียนและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
ติดตามภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth
โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนากรนักเรียนรายบุคคล มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และมีการประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
โรงเรียน,มีการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนอย่างสม่ำเสมอโดยจัดบริการด้านสุขภาพอนามัย จัดบริการอาหาร โดยยึดหลัก 3 ป. ประโยชน์ ประหยัด ปลอดภัย และความรู้ด้านข่าวสารให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
โครงงานโรงเรียนสะอาดปราศจากขยะ
โรงเรียนมีการจัดทำที่คัดแยกขยะ มีการแบ่งเขตบริการดูแลความสะอาด ให้นักเรียนทำความสะอาดบริเวรเขตบริการทุกวัน
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไปมีการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และนำเสนอโครงงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-102
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนิสา บรรจงการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) ”
182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางนิสา บรรจงการ
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-102 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.06
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) " ดำเนินการในพื้นที่ 182 หมู่ที่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1412-102 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 231 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
- เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถความเข้าใจให้กับบุคลากรในโรงเรียนผู้ปกครอง และชุมชน
- เพื่อบูรณาการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเกษตรสหกรณ์ อาหารและโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนทุกคนของโรงเรียนท่างิ้ว( ต.ช.ด.อุปถัมภ์ )มีสุขภาพดีเติบโตสมวัยมีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้นมีทักษะชีวิต สามารถนำไปใช้ได้จริง
- โรงเรียนท่างิ้ว ( ต.ช.ด. อุปถัมภ์ ) มีรูปแบบลดปัญหาทุโภชนาการของนักเรียน
- พ่อแม่ ผู้ปกครองของนักเรียนทุกคนของโรงเรียนท่างิ้ว ( ต.ช.ด. อุปถัมภ์ ) มีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคมในโรงเรียนและตำบลท่างิ้วให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การออมทรัพย์นักเรียน |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต นักทุกคนในโรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) ผลลัพธ์
|
173 | 0 |
2. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - ผัก และพืชต่าง ๆ ที่ได้จากการเพาะปลูก นำผลผลิตเข้าสู้สหกรณ์นักเรียน และนำมาจัดทำอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน ผลลัพธ์ - นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รับประทานผักปลอดสารพิษ - นักเรียนมีภาวะการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ของกรมอนามัย - นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สูงขึ้น
|
179 | 2 |
3. อบรมนักเรียนแกนนำ เรื่องระบบสหกรณ์ |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - ครู นักเรียน จำนวน 36 คน เข้าร่วมโครงการ ผลลัพธุ์ - นักเรียนแกนนำ จำนวน 30 คนได้รับความรู้เรื่องระบบสหกรณ์ และสามารถดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนได้อย่างถูกต้อง
|
47 | 36 |
4. กิจกรรมเกษตรสวนผสม |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - นักเรียนได้รับประทานผลไม้ (กล้วย),(สัปปะรด) ที่ได้จากการปลูก - มีมะนาวใช้สำหรับปรุงอาหารกลางวันให้นักเรียน ผลลัพธุ์ - นักเรียนได้รับประทานผลไม้หลังอาหารกลางวัน - มีวัตถุดิบที่เพียงพอสำหรับประกอบอาหารให้กับนักเรียย
|
199 | 0 |
5. กิจกรรมเมนูชวนชิม |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. นักเรียน จำนวน 163 คน ครู จำนวน 16 คน 2. โปรแกรม TSL ในการจัดเมนูอาหาร 3. วัตถุดิบในโรงเรียน ท้องถิ่น ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางโภชนาการ 2. ได้วัตถุดิบที่มีคุณภาพ ราคาถูก 3. นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนมีความพึงพอใจ
|
189 | 189 |
6. กิจกรรมเลี้ยงปลาทับทิม |
||
วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อพันธุ์ปลาทับทิม จำนวน 900 ตัว มาปล่อยลงในกระชังจำนวน 3 กระชัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเลี้ยงปลาทับทิม จำนวน 900 ตัว เพื่อที่จะนำมาเป็นอาหารกลางวัน
|
201 | 0 |
7. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต นักเรียน ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมโครงการจำนวน 131คน ผลลัพธุ์
|
179 | 131 |
8. การทำปุ๋ยหมัก |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 14.30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์
|
93 | 106 |
9. กิจกรรมลดอ้วนลดพุงโดยการจัดค่าย”รวมพลังขจัดอ้วน” |
||
วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ๑. จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนกลุ่มเสี่ยงเป็นเวลา ๑ วัน โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้จาก รพ.สต.ท่างิ้ว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมนี้
|
41 | 15 |
10. จัดกิจกรรม ให้ความรู้เรื่องของการทำบัญชีรายรับรายจ่าย |
||
วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการจัดให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จำนวน ๑๒๐ คน ครู ๑๖ คน โดยมีวิทยาการจากสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัดตรัง มาให้ความรู้กับนักเรียน โดยมีการสอนให้นักเรียนทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตัวเอง โดยให้ ทำใบงาน และสอนลงบัญชีในสมุด " ต้นกล้าเศรษฐกิจพอเพียง " โดยการวิทยากรจัดกิจกรรมให้กับนักเรียนโดยนักเรียนส่วนใหญ่สนใจร่วมทำกิจกรรมกันอย่างสนุกสนาน หลังจบกิจกรรมนักเรียนแต่ละคนจะต้องทำบัญชีรายรับ รายจ่ายของตัวเองดดยมีครูประจำชั้นเป็นผู้ตรวจ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม
|
180 | 178 |
11. กิจกรรมเปิดศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 8 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทางโรงเรียนได้มีการจัดนักเรียนออกเป็น กลุ่มๆ ดังนี้ ๑ กลุ่มปลูกข้าวไร่ ๒ กลุ่มปลูกข้าวโพด ๓ กลุ่ม เลี้ยงปลาในกระชัง ๔ กลุ่ม ปลูกข้าวโพด ๕ กลุ่มปลูกมะนาวในท่อและปลูกกล้วย ๖ กลุ่มปลูกดอกดาวเรือง มีการจัดนักเรียนเพื่อดูเเล ปราบวัชพืช และพรวนดินใส่ปุ๋ย เป็นระยะๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น และมีความสุขในการทำกิจกรรม และนักเรียนบางคนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการทำเกษตรของครอบครัว
|
239 | 0 |
12. กิจกรรมทำแผนเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับระบบสหกรณ์ |
||
วันที่ 19 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ๑. ประชุมบุคลากร ของโรงเรียน เพื่อว่างแผนจัดทำแผนเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการกับระบบสหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. ครูจะมีแนวทางในการจัดการสอนให้บูรณาการระบบสหกรณ์เข้ากับรายวิชาที่สอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ๒. นักเรียนได้รับประโยชน์จากการที่เรียนรู้ระบบสหกรณ์ผสมกับระบบเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร
|
0 | 16 |
13. กิจกรรมการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 |
||
วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการชี้แจงสรุปรายละเอียดของการดำเนินงานในงวดที่ ๑ โดยตรวจสอบหลักฐานการใช้จ่ายเงินตามโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ดำเนินงานตามโครงการจะได้ทราบถึงรายละเอียดต่างๆในการจัดกิจกรรมและตรวจความเรียบร้อยของหลักฐานการใช้จ่ายเงินตามโครงการที่ถูกต้อง
|
2 | 0 |
14. จัดอบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครอง เรื่องสุขภาพดีไม่มีขาย |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรม สุขภาพดี...ไม่มีขาย ในเรื่องของ การไม่สูบบุหรี่ การดูแลสุขภาพให้แข็งแรงสมวัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนที่ครได้รับความรู้ไปใช้กับตัวเองและคนในครอบครัวตลอดถึงชุมชน
|
344 | 116 |
15. โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทางโรงเรียนมีการดูแลนักเรียนในเรื่องของสุขภาพอย่างถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนทุกคนรู้จักการดูแลตัวเองที่ถูกต้อง ตลอดถึงการดูแลสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้สะอาด น่าอยู่
|
179 | 182 |
16. ห้องพยาบาล...พาสุข |
||
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 11:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการจัดระบบในการใช้และดูแลห้องพยาบาลให้เกิดประโยชน์และปลอดภัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนทุกคนสามารถเข้าใช้บริการห้องพยาบาลได้ตลอดเวลา
|
179 | 179 |
17. กิจกรรม อย.น้อย |
||
วันที่ 19 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเจ้าหน้าที่ให้ความรู้ พร้อมทำกิจกรรมต่างๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรู้เรื่องการบริโภค เพิ่มมากขึ้น
|
109 | 0 |
18. ป้ายนิเทศส่งเสริมความรู้เรื่องอาหาร |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการจัดป้ายให้ความรู้กับนักเรียน เกี่ยวกับการดูแลตัวเอง การทานอาหารที่มีประโยชน์ การออกกำลังกาย และมีการบูรณาการสอนในทุกๆกลุ่มวิชา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรู้ เรื่องอาหาร การดูแลตัวเองอย่างเป็นระบบ
|
168 | 179 |
19. ศึกษาแหล่งเรียนรู้:การกำจัดขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 12 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู็นอกสถานศึกษา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสามารถกลับมาใช้กับการพัฒนาโรงเรียนของตัวเองได้
|
38 | 38 |
20. ศึกษา : เกษตรในโรงเรียน |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนได้ดูแปลงเกษตร และได้รับความรู้จากวิทยากร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสามารถนำความรู้มาใช้กับกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพ
|
51 | 51 |
21. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 1 |
22. กิจกรรมการประชุมปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 2 และ 3 |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดูเอกสาร ให้ถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรายงานผลงสดที่2และ3
|
2 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนในโรงเรียนไม่มีภาวะทุกโภชนาการ |
|
|||
2 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร ตัวชี้วัด : โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากชุมชนท่างิ้วเทศบาลตำบลท่างิ้ว ในการสนับสนุนการบริหารจัดการด้านอาหารให้กับนักเรียน ร้อยละ ๙๐ |
|
|||
3 | เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถความเข้าใจให้กับบุคลากรในโรงเรียนผู้ปกครอง และชุมชน ตัวชี้วัด : ครูและบุคคลากร เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการบริหารจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียนร้อยละ ๑๐๐ |
|
|||
4 | เพื่อบูรณาการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเกษตรสหกรณ์ อาหารและโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนผู้ปกครอง คนในชุมชนท่างิ้ว มีความรู้ด้านการทำการเกษตร สามารถแปลงรู้อาหารที่ได้จากการเกษตร ร้อยละ๙๐ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร (3) เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถความเข้าใจให้กับบุคลากรในโรงเรียนผู้ปกครอง และชุมชน (4) เพื่อบูรณาการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเกษตรสหกรณ์ อาหารและโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
รหัสโครงการ ศรร.1412-102 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.06 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ผักปลอดสารพิษ
- ใช้เศษอาหาร เศษผัก(ผักกาด ผักบุ่ง ผักโขม มะเขือ เปลือกมะละกอ ฯลฯ) มาใช้เป็นวัตถุดิบในการทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการเกษตรของโรงเรียน และให้นักเรียนนำน้ำหมักกลับไปใช้ในการเกษตรในครัวเรือน ซึ่งเป็นการส่งเสริมความรู้ด้านการเกษตรปลอดภัยให้กับนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ทำให้นักเรียนได้บริโภคผัก เช่น ผักกาดผักโขมผักคะน้ามะเขือมะละกออย่างปลอดภัยจากสารเคมี และทำการเกษตรที่ปลอดสารพิษในชุมชน
-พัฒนาความรู้ทางวิชาการเกษตรใหม่ๆ นำไปประกอบอาชีพโดย
ส่งเสริมการปลูกผักตามความต้องการของชุมชน
-นำผลผลิตที่ได้มาแปรรูป และถนอมอาหาร เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างรายได้ให้กับนักเรียน เพื่อแก้ปัญหานักเรียนยากจน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
สหกรณ์วัยใส
มีการขายผักผ่านสหกรณ์นักเรียนและการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีร่วมกับสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จังหวัดตรัง
จัดทำระบบสหกรณ์ โดยใช้โปรแกรมจัดทำบัญชี และ โปรแกรมออมทรัพย์นักเรียนทุกคน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
Thai School Lunch
โรงเรียนมีการจัดเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch
รับผลผลิตทางการเกษตรสำหรับประกอบอาหารกลางวันจากเกษตรโรงเรียนและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
ติดตามภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth
โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนากรนักเรียนรายบุคคล มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และมีการประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
โรงเรียน,มีการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนอย่างสม่ำเสมอโดยจัดบริการด้านสุขภาพอนามัย จัดบริการอาหาร โดยยึดหลัก 3 ป. ประโยชน์ ประหยัด ปลอดภัย และความรู้ด้านข่าวสารให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
โครงงานโรงเรียนสะอาดปราศจากขยะ
โรงเรียนมีการจัดทำที่คัดแยกขยะ มีการแบ่งเขตบริการดูแลความสะอาด ให้นักเรียนทำความสะอาดบริเวรเขตบริการทุกวัน
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไปมีการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และนำเสนอโครงงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)
รหัสโครงการ ศรร.1412-102 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.06 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | ผักปลอดสารพิษ |
|
-พัฒนาความรู้ทางวิชาการเกษตรใหม่ๆ นำไปประกอบอาชีพโดย
ส่งเสริมการปลูกผักตามความต้องการของชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | สหกรณ์วัยใส |
มีการขายผักผ่านสหกรณ์นักเรียนและการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีร่วมกับสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จังหวัดตรัง |
จัดทำระบบสหกรณ์ โดยใช้โปรแกรมจัดทำบัญชี และ โปรแกรมออมทรัพย์นักเรียนทุกคน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | Thai School Lunch |
โรงเรียนมีการจัดเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch |
รับผลผลิตทางการเกษตรสำหรับประกอบอาหารกลางวันจากเกษตรโรงเรียนและชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | ติดตามภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth |
โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนากรนักเรียนรายบุคคล มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และมีการประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth |
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร |
โรงเรียน,มีการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนอย่างสม่ำเสมอโดยจัดบริการด้านสุขภาพอนามัย จัดบริการอาหาร โดยยึดหลัก 3 ป. ประโยชน์ ประหยัด ปลอดภัย และความรู้ด้านข่าวสารให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ |
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | โครงงานโรงเรียนสะอาดปราศจากขยะ |
โรงเรียนมีการจัดทำที่คัดแยกขยะ มีการแบ่งเขตบริการดูแลความสะอาด ให้นักเรียนทำความสะอาดบริเวรเขตบริการทุกวัน |
ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไปมีการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และนำเสนอโครงงาน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์) จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1412-102
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนิสา บรรจงการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......