แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง ”
ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150
หัวหน้าโครงการ
นางบรรเจิด อุ่นมณีรัตน์
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนอนุบาลจอมบึง
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง
ที่อยู่ ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150 จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ ศรร.1213-037 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.6
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนอนุบาลจอมบึง จังหวัดราชบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนอนุบาลจอมบึง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนอนุบาลจอมบึง " ดำเนินการในพื้นที่ ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150 รหัสโครงการ ศรร.1213-037 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนอนุบาลจอมบึง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 994 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนอนุบาลจอมบึงจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นฟ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส
- เพื่อพัฒนางานสหกรณ์นักเรียนให้เป็นระบบครบวงจร
- เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี
- เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีศูนย์กลางในการทำกิจกรรมส่งเสริมการเกษตรมีผลิตผลทางการเกษตร และสามารถแปรรูปเพื่อการจำหน่ายได้
- นักเรียนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และรักการทำงาน เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง
- มีการดำเนินงานสหกรณ์ของโรงเรียนครบวงจร
- เป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงานอย่างสร้างสรรค์
- มีการทำงานอย่างมีส่วนร่วมของ นักเรียน ครู และชุมชน
- โรงเรียนมีทิวทัศน์ที่สวยงามขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 28 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- หาแหล่งจำหน่ายพันธุ์ไก่ไข่และอาหารไก่ที่มีคุณภาพ
- จัดซื้อพันธุ์ไก่ไข่ และอาหารไก่
- เลี้ยงไก่ไข่และให่อาหารเพื่อรอผลผลิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการทำกิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ ครูนักเรียน และผู้ปกครองได้ร่วมมือกันเพื่อทำกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
ทำให้ทุกคนได้เรียนรู้การปฏิบัติจริง และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการต่อยอดเพื่อเป็นอาชีพเสริมได้อีกทางหนึ่ง
54
54
2. ซื้ออาหารไก่และอาหารปลา
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดหาแหล่งซื้ออาหารปลาและอาหารไก่
2.ซื้ออาหารปลาและอาหารไก่ตามรายการ
3.จัดเก็บอาหารปลาและอาหารไก่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การทำกิจกรรมการซื้ออาหารปลาและอาหารไก่ เพื่อให้ผู้มีส่วนร่มในกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบัติโดยการหาข้อมูลร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปลาและอาหารไก่ที่มีคุณภาพ และราคาเหมาะสม
แล้วหาสถานที่การจัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพ
31
31
3. การปลูกผักไฮไดรโปนิกส์
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค้นหาข้อมูลวัสดุและอุปกรณืการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
- จัดจ้างทำอุปกรณ์สำหรับปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
- ติดตั้งอุปกรณ์ในบรเวณที่ปลูกผัก โดยการตรวจสอบความคงทนในการติดตั้ง
- เตรียมวัสดุที่ใช้ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู นักเรียน และผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีการติดตั้งอุปกรณ์ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ และการดูแลรักษาที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ก่อนกำหนด
300
280
4. การเลี้ยงปลา
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- คัดเลือกพันธุ์ปลาที่จะนำมาเลี้ยง
- จัดเตรียมสถานที่
- เลือกซื้อพันธุ์ปลา
- เลี้ยงปลาในบ่ออนุบาลปลา
- ให้อาหารปลา และดูแล ป้องกันอันตรายจากสัตว์อื่น และป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นในปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครู นักเรียน และผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาที่ถูกต้อง
- ครู นักเรียน และผู้ปกครอง มีรายได้จากการเลี้ยงปลา
- ครู นักเรียน และผู้ปกครอง สามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพได้
31
31
5. จัดอบรมการทำบัญชีสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับสมัครแกนนำนักเรียนที่สนใจเข้าอบรม
2.จัดอบรมการทำบัญชีสหกรณ์นักเรียน โดยวิทยากร
3.ฝึกปฏิบัติจริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนครู และผูปกครองได้ฝึกการจัดทำบัญชีสหกรณ์ มีความรู้เรื่องระบบบัญชีสหกรณ์ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
40
0
6. ดำเนินการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร
วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับสมัครแกนนำ
2.เชิญวิทยากรมาอบรมการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร
3.ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร ด้วยตนเอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน ครู และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร และสามารถนำไปปฏิบัติจริงให้เกิดผล
75
0
7. อบรม thai school lunch
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมการอบรม
2.วิทยากรให้ความรู้ในการจัดอบรมวิเคราะห์เมนู thai school lunch แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัว และนักเรียนแกนนำ
3.ผู้เข้าร่วมการอบรมฝึกปฏิบัติจริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู ผู้ปกครองมีความรู้ในการจัดทำเมนูอาหารให้สอดคล้องกับความความต้องการสารอาหารในแต่ละวันของนักเรียน
ครู ผู้ปกครองมีการจัดทำเมนูอาหารให้สอดคล้องกับความความต้องการสารอาหารในแต่ละวันของนักเรียน เพื่อการเจริญเติบโตของร่างกายที่สมบูรณ์
63
40
8. ค่าอาหารไก่
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
00
65
60
9. โครงงานกำจัดเหาโดยนักเรียนและครูวิทยาศาสตร์
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ครูและนักเรียน ศึกษาข้อมูลจากสื่อต่างๆ แล้วนำความรู้มาประมวลผล
-นักเรียนร่มกิจกรรมประกวดการจัดทำสื่อนิทรรศการให้ความรู้เรื่องเหา
-ครู และนักเรียนแกนนำ กำจัดเหาให้แก่นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูสามารถจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยการให้ความรู้แก่นักเรียน ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
135
130
10. ค่าเมล็ดพันธ์พืชปลูกผักไฮโดโปรนิกส์
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.สำรวจและจัดหาแหล่งเมล็ดพันธ์ผัก
2.ซื้อเมล็ดพันธ์ผักเพื่อใช้ในการปลูกผักไฮโดรโปนกส์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีความรู้เรื่องเมล็ดพันธ์ุผัก และจัดซื้อได้อย่างถูกต้อง ร้านค้ามีมาตรฐาน สามารถเลือกซื้อได้ในครั้งต่อไป
300
0
11. อบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับสมัครนักเรียนและครูที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
2.เชิญวิทยากรมาให้ความรู้
3.ฝึกปฏิบัติจริง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผลผลิตทางการเกษตร จาก
การมีส่วนร่วมในการดูแลของนักเรียน
มีการนำผลผลิตการเกษตร
ไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียน และจำหน่าย
78
45
12. ปุ๋ยมหัศจรรย์ข้างเขา
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-วิทยากรให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยประเภทต่างๆ
-นักเรียนเตรียม พื้นที่ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมัก
-ลงมือทำปุ๋ยหมักตามขั้นตอนที่ได้อบรม
-ดูแล สังเกตปุ๋ยหมัก
-นำปุ๋ยหมักที่ได้บรรจุลงถุงบรรจุภัณฑ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและผู้ที่ร่วมอบรม ได้รับความรู้ในการทำปุ๋ยหมักเพื่อใช้เอง หรือสามารถนำไปจำหน่ายเป็นรายได้ให้แก่ครอบครัว และสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ และนำความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ
113
0
13. ค่าอาหารการจัดอบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์
วันที่ 25 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ส่งแบบสอบถามเข้าร่วมการอบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์
2.จัดอบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์โดยวิทยากร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ สามารถปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ในโรงเรียน และที่บ้าน ทั้งยังสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจได้
300
290
14. ป้ายไวนิลนิทรรศการการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
00
613
420
15. ป้ายไวนิลรณรงค์ให้ความรู้การบริการสุขภาพนักเรียน
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
00
613
455
16. วัสดุในการจัดทำนิทรรศการ
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
00
613
355
17. วัสดุอุปกรณ์และสื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีวัสดุอุปกรณ์และสื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพครบทุกห้องเรียน
โรงเรียนมีการนำวัสดุอุปกรณ์และสื่อจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ
มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนมีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ที่หลากหลาย
410
320
18. ป้ายโครงการเกษตรในโรงเรียน
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดหาร้านทำป้ายที่มีคุณภาพ ราคาเหมาะสม
- สั่งทำป้ายโครงการ
- นำป้ายโครงการติดบริเวณแปลงเกษตรสาธิตของโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดทำป้ายเป็นการแจ้งให้ผู้เข้าชม ทราบถึงชื่อโครงการ และสามารถติตั้งไว้ได้อย่างถาวร มีความมั่นคง แข็งแรง
616
0
19. ค่าอาหารไก่
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดหาร้านค้ายขายอาหารไก่
2. เปรียบเทียบราคาสินค้าและคุณภาพ
3.จัดซื้ออาหารไก่
4. นำไปจดเก็บไว้ ณ เรือนเก็บอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผลผลิตทางการเกษตร จากการมีส่วนร่วมในการดูแลของนักเรียน
มีการนำผลผลิตการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียน และจำหน่าย
60
43
20. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย
วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
00
2
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัด : ครูและผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส
2
เพื่อพัฒนางานสหกรณ์นักเรียนให้เป็นระบบครบวงจร
ตัวชี้วัด : งานสหกรณ์นักเรียนมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ
3
เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน
4
เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี
5
เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัด : ชุมชนร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส (2) เพื่อพัฒนางานสหกรณ์นักเรียนให้เป็นระบบครบวงจร (3) เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน (4) เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี (5) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง
รหัสโครงการ ศรร.1213-037 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.6 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกพืชผักเพื่อการบริโภค
นักเรียนในแต่ละระดับชั้นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้กิจกรรมเกษตรของโรงเรียนในการปลูกพืชแต่ละชนิดที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสมครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมแบ่งกลุ่มกันดูแลและรวมถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต
ขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกพืชตามความสนใจของนักเรียนเพื่อการบริโภคและจำหน่ายรวมถึงมีการต่อยอดในการพัฒนานวัตกรรมจนได้รับรางวัลระดับประเทศ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
กิจกรรมร้านค้าแก้มใส
มีการจัดตั้งร้านค้าแก้มใสขึ้นเพื่อดำเนินการขายผลผลิตของโครงการเพื่อนำเงินที่ได้จากการขายสินค้ามาดำเนินการพัฒนาโครงการให้เลี้ยงตัวเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถยืนได้ด้วยตนเอง
ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมและมีการดำเนินการตามรูปแบบสหกรณ์ให้ถูกต้องต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การบริการอาหารของโรงเรียนโดยคณะครูและนักเรียน
มีการหมุนเวียนให้ครูและนักเรียนร่วมกันตักอาหารอย่างถูกสุขลักษณะตามหลักอนามัยมีการตรวจสุขภาพของแม่ครัวเป็นประจำทุกภาคเรียนการแต่งกายที่ถูกสุขลักษณะ
พัฒนารูปแบบให้มีมาตรฐานถูกสุขลักษณะในการบริหารด้านอาหารมีการประเมินทุกเดือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
ตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกายนักเรียน
มีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงในทุกภาคเรียนและมีแบบประเมินสุขภาพของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกาย
ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพของนักเรียนอย่างเป็นระบบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
การรักษาความสะอาดของร่างกายและสุขภาพช่องปาก
มีการตรวจสอบการแต่งกายของนักเรียนทุกเช้ารวมถึงร่างกายและมีการให้นักเรียนทุกชั้นแปรงฟันทุกวันหลังรับประทานอาหารกลางวันโดยให้ครูประจำชั้นเป็นผู้ตรวจสอบมีการบันทึกในทุก ๆ วัน
ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพช่องปากของนักเรียนอย่างเป็นระบบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
การพัฒนาอาคารสถานที่ให้ถูกสุขอนามัยปลอดภัย
มีการพัฒนาสถานที่ต่าง ๆ ที่มีความเสี่ยงให้ถูกสุขลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงการพัฒนาเรื่องของห้องน้ำให้สะอาด
มีการดำเนินการพัฒนาอาคารสถานที่ห้องน้ำให้ถูกสุขลักษณะและเข้าประกวดเพื่อขอรับรางวัลในระดับประเทศต่อไปและเป็นต้นแบบเพื่อพัฒนาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนอนุบาลจอมบึง จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ ศรร.1213-037
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางบรรเจิด อุ่นมณีรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง ”
ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150
หัวหน้าโครงการ
นางบรรเจิด อุ่นมณีรัตน์
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150 จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ ศรร.1213-037 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.6
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนอนุบาลจอมบึง จังหวัดราชบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนอนุบาลจอมบึง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนอนุบาลจอมบึง " ดำเนินการในพื้นที่ ต.จอมบึง อ.จอมบึง จ.ราชบุรี 70150 รหัสโครงการ ศรร.1213-037 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนอนุบาลจอมบึง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 994 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนอนุบาลจอมบึงจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นฟ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส
- เพื่อพัฒนางานสหกรณ์นักเรียนให้เป็นระบบครบวงจร
- เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี
- เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีศูนย์กลางในการทำกิจกรรมส่งเสริมการเกษตรมีผลิตผลทางการเกษตร และสามารถแปรรูปเพื่อการจำหน่ายได้
- นักเรียนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และรักการทำงาน เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง
- มีการดำเนินงานสหกรณ์ของโรงเรียนครบวงจร
- เป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงานอย่างสร้างสรรค์
- มีการทำงานอย่างมีส่วนร่วมของ นักเรียน ครู และชุมชน
- โรงเรียนมีทิวทัศน์ที่สวยงามขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 28 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ ครูนักเรียน และผู้ปกครองได้ร่วมมือกันเพื่อทำกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน
|
54 | 54 |
2. ซื้ออาหารไก่และอาหารปลา |
||
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดหาแหล่งซื้ออาหารปลาและอาหารไก่ 2.ซื้ออาหารปลาและอาหารไก่ตามรายการ 3.จัดเก็บอาหารปลาและอาหารไก่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการทำกิจกรรมการซื้ออาหารปลาและอาหารไก่ เพื่อให้ผู้มีส่วนร่มในกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบัติโดยการหาข้อมูลร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปลาและอาหารไก่ที่มีคุณภาพ และราคาเหมาะสม แล้วหาสถานที่การจัดเก็บที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพ
|
31 | 31 |
3. การปลูกผักไฮไดรโปนิกส์ |
||
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู นักเรียน และผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีการติดตั้งอุปกรณ์ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ และการดูแลรักษาที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพของอุปกรณ์ก่อนกำหนด
|
300 | 280 |
4. การเลี้ยงปลา |
||
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
31 | 31 |
5. จัดอบรมการทำบัญชีสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับสมัครแกนนำนักเรียนที่สนใจเข้าอบรม 2.จัดอบรมการทำบัญชีสหกรณ์นักเรียน โดยวิทยากร 3.ฝึกปฏิบัติจริง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนครู และผูปกครองได้ฝึกการจัดทำบัญชีสหกรณ์ มีความรู้เรื่องระบบบัญชีสหกรณ์ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
40 | 0 |
6. ดำเนินการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร |
||
วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับสมัครแกนนำ 2.เชิญวิทยากรมาอบรมการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร 3.ผู้เข้าร่วมอบรมฝึกปฏิบัติการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร ด้วยตนเอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน ครู และผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลิตผลทางด้านการเกษตร และสามารถนำไปปฏิบัติจริงให้เกิดผล
|
75 | 0 |
7. อบรม thai school lunch |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมการอบรม 2.วิทยากรให้ความรู้ในการจัดอบรมวิเคราะห์เมนู thai school lunch แก่ครู ผู้ปกครอง แม่ครัว และนักเรียนแกนนำ 3.ผู้เข้าร่วมการอบรมฝึกปฏิบัติจริง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู ผู้ปกครองมีความรู้ในการจัดทำเมนูอาหารให้สอดคล้องกับความความต้องการสารอาหารในแต่ละวันของนักเรียน ครู ผู้ปกครองมีการจัดทำเมนูอาหารให้สอดคล้องกับความความต้องการสารอาหารในแต่ละวันของนักเรียน เพื่อการเจริญเติบโตของร่างกายที่สมบูรณ์
|
63 | 40 |
8. ค่าอาหารไก่ |
||
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น00
|
65 | 60 |
9. โครงงานกำจัดเหาโดยนักเรียนและครูวิทยาศาสตร์ |
||
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-ครูและนักเรียน ศึกษาข้อมูลจากสื่อต่างๆ แล้วนำความรู้มาประมวลผล -นักเรียนร่มกิจกรรมประกวดการจัดทำสื่อนิทรรศการให้ความรู้เรื่องเหา -ครู และนักเรียนแกนนำ กำจัดเหาให้แก่นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูสามารถจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยการให้ความรู้แก่นักเรียน ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
135 | 130 |
10. ค่าเมล็ดพันธ์พืชปลูกผักไฮโดโปรนิกส์ |
||
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.สำรวจและจัดหาแหล่งเมล็ดพันธ์ผัก 2.ซื้อเมล็ดพันธ์ผักเพื่อใช้ในการปลูกผักไฮโดรโปนกส์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีความรู้เรื่องเมล็ดพันธ์ุผัก และจัดซื้อได้อย่างถูกต้อง ร้านค้ามีมาตรฐาน สามารถเลือกซื้อได้ในครั้งต่อไป
|
300 | 0 |
11. อบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ |
||
วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับสมัครนักเรียนและครูที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม 2.เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ 3.ฝึกปฏิบัติจริง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผลผลิตทางการเกษตร จาก การมีส่วนร่วมในการดูแลของนักเรียน มีการนำผลผลิตการเกษตร ไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียน และจำหน่าย
|
78 | 45 |
12. ปุ๋ยมหัศจรรย์ข้างเขา |
||
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-วิทยากรให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการทำปุ๋ยประเภทต่างๆ -นักเรียนเตรียม พื้นที่ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำปุ๋ยหมัก -ลงมือทำปุ๋ยหมักตามขั้นตอนที่ได้อบรม -ดูแล สังเกตปุ๋ยหมัก -นำปุ๋ยหมักที่ได้บรรจุลงถุงบรรจุภัณฑ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและผู้ที่ร่วมอบรม ได้รับความรู้ในการทำปุ๋ยหมักเพื่อใช้เอง หรือสามารถนำไปจำหน่ายเป็นรายได้ให้แก่ครอบครัว และสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ และนำความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ
|
113 | 0 |
13. ค่าอาหารการจัดอบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ |
||
วันที่ 25 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ส่งแบบสอบถามเข้าร่วมการอบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ 2.จัดอบรมสร้างเสริมความรู้การปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์โดยวิทยากร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ สามารถปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ในโรงเรียน และที่บ้าน ทั้งยังสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจได้
|
300 | 290 |
14. ป้ายไวนิลนิทรรศการการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น00
|
613 | 420 |
15. ป้ายไวนิลรณรงค์ให้ความรู้การบริการสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น00
|
613 | 455 |
16. วัสดุในการจัดทำนิทรรศการ |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น00
|
613 | 355 |
17. วัสดุอุปกรณ์และสื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ |
||
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และสื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีวัสดุอุปกรณ์และสื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพครบทุกห้องเรียน
โรงเรียนมีการนำวัสดุอุปกรณ์และสื่อจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ
มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนมีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ที่หลากหลาย
|
410 | 320 |
18. ป้ายโครงการเกษตรในโรงเรียน |
||
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดหาร้านทำป้ายที่มีคุณภาพ ราคาเหมาะสม - สั่งทำป้ายโครงการ - นำป้ายโครงการติดบริเวณแปลงเกษตรสาธิตของโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดทำป้ายเป็นการแจ้งให้ผู้เข้าชม ทราบถึงชื่อโครงการ และสามารถติตั้งไว้ได้อย่างถาวร มีความมั่นคง แข็งแรง
|
616 | 0 |
19. ค่าอาหารไก่ |
||
วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดหาร้านค้ายขายอาหารไก่ 2. เปรียบเทียบราคาสินค้าและคุณภาพ 3.จัดซื้ออาหารไก่ 4. นำไปจดเก็บไว้ ณ เรือนเก็บอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผลผลิตทางการเกษตร จากการมีส่วนร่วมในการดูแลของนักเรียน มีการนำผลผลิตการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียน และจำหน่าย
|
60 | 43 |
20. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย |
||
วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น00
|
2 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัด : ครูและผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส |
|
|||
2 | เพื่อพัฒนางานสหกรณ์นักเรียนให้เป็นระบบครบวงจร ตัวชี้วัด : งานสหกรณ์นักเรียนมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ |
|
|||
3 | เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน |
|
|||
4 | เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี |
|
|||
5 | เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัด : ชุมชนร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในโครงการเด็กไทยแก้มใส (2) เพื่อพัฒนางานสหกรณ์นักเรียนให้เป็นระบบครบวงจร (3) เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติงานเกษตรผสมผสานในโรงเรียน (4) เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี (5) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง
รหัสโครงการ ศรร.1213-037 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.6 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกพืชผักเพื่อการบริโภค
นักเรียนในแต่ละระดับชั้นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้กิจกรรมเกษตรของโรงเรียนในการปลูกพืชแต่ละชนิดที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสมครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมแบ่งกลุ่มกันดูแลและรวมถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต
ขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกพืชตามความสนใจของนักเรียนเพื่อการบริโภคและจำหน่ายรวมถึงมีการต่อยอดในการพัฒนานวัตกรรมจนได้รับรางวัลระดับประเทศ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
กิจกรรมร้านค้าแก้มใส
มีการจัดตั้งร้านค้าแก้มใสขึ้นเพื่อดำเนินการขายผลผลิตของโครงการเพื่อนำเงินที่ได้จากการขายสินค้ามาดำเนินการพัฒนาโครงการให้เลี้ยงตัวเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถยืนได้ด้วยตนเอง
ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมและมีการดำเนินการตามรูปแบบสหกรณ์ให้ถูกต้องต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การบริการอาหารของโรงเรียนโดยคณะครูและนักเรียน
มีการหมุนเวียนให้ครูและนักเรียนร่วมกันตักอาหารอย่างถูกสุขลักษณะตามหลักอนามัยมีการตรวจสุขภาพของแม่ครัวเป็นประจำทุกภาคเรียนการแต่งกายที่ถูกสุขลักษณะ
พัฒนารูปแบบให้มีมาตรฐานถูกสุขลักษณะในการบริหารด้านอาหารมีการประเมินทุกเดือน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
ตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกายนักเรียน
มีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงในทุกภาคเรียนและมีแบบประเมินสุขภาพของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกาย
ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพของนักเรียนอย่างเป็นระบบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
การรักษาความสะอาดของร่างกายและสุขภาพช่องปาก
มีการตรวจสอบการแต่งกายของนักเรียนทุกเช้ารวมถึงร่างกายและมีการให้นักเรียนทุกชั้นแปรงฟันทุกวันหลังรับประทานอาหารกลางวันโดยให้ครูประจำชั้นเป็นผู้ตรวจสอบมีการบันทึกในทุก ๆ วัน
ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพช่องปากของนักเรียนอย่างเป็นระบบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
การพัฒนาอาคารสถานที่ให้ถูกสุขอนามัยปลอดภัย
มีการพัฒนาสถานที่ต่าง ๆ ที่มีความเสี่ยงให้ถูกสุขลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงการพัฒนาเรื่องของห้องน้ำให้สะอาด
มีการดำเนินการพัฒนาอาคารสถานที่ห้องน้ำให้ถูกสุขลักษณะและเข้าประกวดเพื่อขอรับรางวัลในระดับประเทศต่อไปและเป็นต้นแบบเพื่อพัฒนาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนอนุบาลจอมบึง
รหัสโครงการ ศรร.1213-037 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.6 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การปลูกพืชผักเพื่อการบริโภค |
นักเรียนในแต่ละระดับชั้นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้กิจกรรมเกษตรของโรงเรียนในการปลูกพืชแต่ละชนิดที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสมครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมแบ่งกลุ่มกันดูแลและรวมถึงการเก็บเกี่ยวผลผลิต |
ขยายพื้นที่ในการเพาะปลูกพืชตามความสนใจของนักเรียนเพื่อการบริโภคและจำหน่ายรวมถึงมีการต่อยอดในการพัฒนานวัตกรรมจนได้รับรางวัลระดับประเทศ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | กิจกรรมร้านค้าแก้มใส |
มีการจัดตั้งร้านค้าแก้มใสขึ้นเพื่อดำเนินการขายผลผลิตของโครงการเพื่อนำเงินที่ได้จากการขายสินค้ามาดำเนินการพัฒนาโครงการให้เลี้ยงตัวเองได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถยืนได้ด้วยตนเอง |
ฝึกปฏิบัติให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมและมีการดำเนินการตามรูปแบบสหกรณ์ให้ถูกต้องต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การบริการอาหารของโรงเรียนโดยคณะครูและนักเรียน |
มีการหมุนเวียนให้ครูและนักเรียนร่วมกันตักอาหารอย่างถูกสุขลักษณะตามหลักอนามัยมีการตรวจสุขภาพของแม่ครัวเป็นประจำทุกภาคเรียนการแต่งกายที่ถูกสุขลักษณะ |
พัฒนารูปแบบให้มีมาตรฐานถูกสุขลักษณะในการบริหารด้านอาหารมีการประเมินทุกเดือน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | ตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกายนักเรียน |
มีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงในทุกภาคเรียนและมีแบบประเมินสุขภาพของนักเรียนในด้านต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบสมรรถภาพของร่างกาย |
ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพของนักเรียนอย่างเป็นระบบ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | การรักษาความสะอาดของร่างกายและสุขภาพช่องปาก |
มีการตรวจสอบการแต่งกายของนักเรียนทุกเช้ารวมถึงร่างกายและมีการให้นักเรียนทุกชั้นแปรงฟันทุกวันหลังรับประทานอาหารกลางวันโดยให้ครูประจำชั้นเป็นผู้ตรวจสอบมีการบันทึกในทุก ๆ วัน |
ติดต่อกับศูนย์อนามัยในการตรวจสุขภาพช่องปากของนักเรียนอย่างเป็นระบบ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | การพัฒนาอาคารสถานที่ให้ถูกสุขอนามัยปลอดภัย |
มีการพัฒนาสถานที่ต่าง ๆ ที่มีความเสี่ยงให้ถูกสุขลักษณะด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงการพัฒนาเรื่องของห้องน้ำให้สะอาด |
มีการดำเนินการพัฒนาอาคารสถานที่ห้องน้ำให้ถูกสุขลักษณะและเข้าประกวดเพื่อขอรับรางวัลในระดับประเทศต่อไปและเป็นต้นแบบเพื่อพัฒนาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนอนุบาลจอมบึง จังหวัด ราชบุรี
รหัสโครงการ ศรร.1213-037
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางบรรเจิด อุ่นมณีรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......