แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านพรุจูด ”
หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ ดาวังปา
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านพรุจูด
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านพรุจูด
ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1411-123 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.26
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านพรุจูด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านพรุจูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านพรุจูด
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านพรุจูด " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1411-123 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านพรุจูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 105 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านพรุจูด จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านพรุจูด ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. ในการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- นักเรียน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีโภชนาการเจริญเติบโตสมวัย โดยการรับประทานอาหารครบทั้ง 5 หมู่ และได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย
- บุคลากรในโรงเรียนได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการอาหารและโภชนาการ แบบครบวงจร
- โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการต่อไป
- นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ เพื่อเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้
- นักเรียนสามารถหารายได้ระหว่างเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดกับกิจกรรมในครอบครัวได้
- นักเรียนมีความสุขในการเรียน และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมการเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟ้า
- กำหนดครูและนักเรียนผู้รับผิดชอบ
- จัดเตรียมสถานที่ในการเพาะเลี้ยง
- จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 410 ก้อน
- นักเรียนจัดเรียงก้อนเห็ดนางฟ้า
- รดน้ำก้อนเชื้อเช้า-เย็น โดยต้องรดน้ำให้ชุ่มทั่วทั้งก้อน แต่ห้ามให้น้ำกระเด็นไปโดนบริเวณปากถุงที่เปิดเพื่อให้เห็ดงอก
- เก็บผลผลิตที่โตเต็มที่
- นำผลผลิตที่ได้แบ่งขายให้สหกรณ์นักเรียน
- บันทักบัญชีรับ-จ่าย
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟ้า ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการดูแลเห็ดนางฟ้า การเก็บผลผลิต การแบ่งขาย และการจัดทำบัญชีรับ-จ่าย
201
10
2. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 1)
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
- แยกกลุ่มตามโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของส่วนกลาง
- บันทึกรายละเอียดในระบบ
- ตรวจสอบความถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครูในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ตามรูปแบบที่ สสส. กำหนด
- ครูสามารถบันทึกความก้าวหน้าของกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง
2
1
3. สหกรณ์ของฉัน
วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนลงทะเบียนเพื่อเข้าอบรม
- วิทยากรนำเสนอข้อมูลของสหกรณ์
- วิทยากรนำเสนอการบริหารจัดการบัญชีสหกรณ์
- นักเรียนทดลองปฏิบัติจริง
- สรุปผบการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้รูปแบบ และกระบวนการดำเนินงานของสหกรณ์
- คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน ได้ฝึกปฏิบัติการดำเนินงานสหกรณ์จริง
106
0
4. การพัฒนาบุคลากรเรื่องการเกษตร
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ลงทะเบียนเข้าอบรมด้านเกษตรในโรงเรียน
- วิทยากรบรรยายการจัดการเกษตรในโรงเรียนด้านต่าง ๆ เช่น การปลูกผัก การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงปลาดุก
- นักเรียนร่วมกิจกรรม โดยทดลองลงมือปฏิบัติจริง
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้เรียนรู้การทำเกษตรในโรงเรียนจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน พร้อมได้ทดลองลงมือปฏิบัติจริง
40
0
5. การปลูกพืชผักสวนครัว
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- แบ่งกลุ่มและเขตพื้นที่รับผิดชอบ
- แต่ละกลุ่มกำหนดชนิดของผักที่ต้องการปลูก
- เตรียมแปลงปลูก
- ปลูกผักและดูแลตามหน้าที่รับผิดชอบ
- เก็บผลผลิตนำส่งขายที่สหกรณ์นักเรียน
- ทำบัญชีรายรับ-จ่าย
- ประเมินผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ฝึกทักษะงานเกษตร
- นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและรับประทานผักได้มากขึ้น
- นักเรียนรู้จักการทำงานร่วมกัน
105
42
6. ชุมนุมอาชีพขนมโค
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมโค สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมโค
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมโค
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
24
10
7. ชุมนุมอาชีพขนมลา
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมลา สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมลา
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมโค
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
12
15
8. ชุมนุมอาชีพขนมทอดมัน
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมทอดมัน สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมทอดมัน
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมโค
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
18
0
9. ชุมนุมอาชีพกล้วยฉาบ
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะครู และนักเรียน เพื่อร่วมกันกำหนดชุมนุม
- คัดเลือกชุมนุมที่นักเรียนสนใจ
- ดำเนินการชุมนุม
- ประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมกล้วยฉาบ
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
16
14
10. ชุมนุมอาชีพขนมจาก
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมจาก สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมจาก
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมจาก
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
15
15
11. ชุมนุมอาชีพขนมข้าวต้มมัด
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมข้าวต้มมัด สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมข้าวต้มมัด
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมข้าวต้มมัด
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
12
10
12. ชุมนุมอาชีพขนมบัวลอย
วันที่ 13 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมบัวลอย สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมบัวลอย
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมบัวลอย
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
16
18
13. จัดซื้อแม่พันธุ์ไก่ไข่และอาหารไก่
วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เตรียมพื้นที่สำหรับเลี้ยงไก่ไข่
- จัดซื้อแม่พันธุ์ไก่ไข่ พร้อมอาหาร และยา
- ดูแลไก่ตามวิธีการ
- เก็บเกี่ยวผลผลิต และนำส่งขายสหกรณ์โรงเรียน
- บันทึกรายรับ-รายจ่าย
- รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้บริโภคไข่ไก่ที่มีคุณภาพ
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่ไข่
- นักเรียนมีรายได้จากการขายปุ๋ยมูลไก่
- นักเรียนมีความรับผิดชอบมากขึ้น
201
113
14. การติดตามภาวะโภชนาการอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก
วันที่ 18 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำกำหนดการอบรม
- เชิญวิทยากร / ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อบรรยายให้ความรู้
- จัดอบรมตามกำหนดการ
- สอบถามความพึงพอใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนักและได้รับการคัดกรองอย่างเหมาะสม
- นักเรียนและผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีการรักษาช่องปาก และฟันอย่างถูกวิธี
- นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการแปรงฟันอย่างถูกวิธี
- นักเรียนและผู้ปกครองมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีขึ้น
64
64
15. ชุมนุมอาชีพขนมต้มลาว
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมต้มลาว สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมต้มลาว
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมต้มลาว
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
16
12
16. ชุมนุมอาชีพขนมต้ม
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมข้าวต้มมัด สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมข้าวต้มมัด
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนที่สนใจทำขนมข้าวต้มมัด สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมข้าวต้มมัด
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
11
11
17. ศึกษาดูงาน
วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เดินทางถึงโรงเรียนบ้านลำทับ
- ผู้อำนวยการโรงเรียน กล่าวต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากโรงเรียนบ้านพรุจูด
- คณะครู และนักเรียน นำคณะศึกษาดูงาน ดูงานตามฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ตลอดทั้งวัน
- คณะศึกษาดูงานกล่าวขอบคุณและมอบขอบที่ระลึก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนบ้านลำทับ อ.ลำทับ จ.กระบี่ เป็นโรงเรียนมีสามารถดำเนินกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสได้อย่างดีเยี่ยม ทุกองค์ประกอบมีกระบวนการ และผลการดำเนินงานที่ชัดเจน คณะครูและนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
30
30
18. ชุมนุมอาชีพขนมเทียน
วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมเทียน สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมเทียน
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมเทียน
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
11
0
19. ชุมนุมอาชีพขนมไข่นก
วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียนที่สนใจทำขนมไข่นก สมัครเข้าร่วมกิจกรรม
- ครูและนักเรียน ประชุม เพื่อมอบหมายภาระงานและเตรียมความพร้อมก่อนทำกิจกรรม
- ดำเนินการทำขนมไข่นก
- นำขนมขาย
- บันทึกรายรับ-จ่าย
- จัดทำรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำขนมไข่นก
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม และการยอมรับความเห็นของผู้อื่น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบัญชี
17
12
20. ชุมนุมอาชีพบ๊ะจ่าง
วันที่ 3 มกราคม 2560 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อวัตถุดิบเพื่อทำกิจกรรม
- แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
- ดำเนินกิจกรรม
- ขายผลิตภัณฑ์
- ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำบ๊ะจ่าง
- นักเรียนได้บริโภคข้าวต้มมัดที่สะอาด และมีคุณค่าทางโภชนาการ
19
19
21. อาหารและโภชนาการ
วันที่ 14 มกราคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำกำหนดการอบรม
- เชิญวิทยากร / ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อบรรยายให้ความรู้
- จัดอบรมตามกำหนดการ
- สอบถามความพึงพอใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนและผู้ปกครอง ได้เรียนรู้วิธีเลือกอาหารและรับประทานอย่างเหมาะสม
- นักเรียนและผู้ปกครอง ได้รู้วิธีสังเกตุอาการ หรือลักษณะผิดปกติของร่างกาย เพื่อคัดกรองตัวเองเบื้องต้น
105
0
22. จัดซื้ออาหารไก่
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ให้อาหารไก่ตามปริมาณที่เหมาะสม
- ตรวจสอบปริมาณอาหารคงเหลือ
- จัดซื้ออาหารเพิ่มเติม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ไก่ได้รับอาหารในปริมาณที่เหมาะสม
- นักเรียนรู้จักแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
- นักเรียนรู้จักบันทึกปริมาณการให้อาหาร และสังเกตอาการของไก่
2
16
23. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยโครงการให้กับ สอส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ยโครงการให้กับ สอส. เรียบร้อย
0
0
24. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 3)
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
- แยกกลุ่มตามโรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะได้รับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ของส่วนกลาง
- บันทึกรายละเอียดในระบบ
- ตรวจสอบความถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครูในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน ตามรูปแบบที่ สสส. กำหนด
- ครูสามารถบันทึกความก้าวหน้าของกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง
2
1
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี
- ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน7%
- ภาวะผอมไม่เกิน 7%ดูน้ำหนักตามเกณฑ์และส่วนสูง
- ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7%
ผลการประเมินตามตัวชี้วัด พบว่า
1. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน อยู่ในระดับ 8.42% ซึ่งเกินระดับตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ แต่ผลการประเมินดังกล่าว มีแนวโน้มลดลง
2. นักเรียนมีภาวะผอมอยู่ในระดับ 4.21% เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้
3. นักเรียนมีภาวะเตี้ย อยู่ในระดับ 2.11% เป็นไปตามตัวชี้วัดที่ตั้งไว้
2
2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย
- ผักวันละประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50กรัม)ประถม4 ช้อน (70กรัม)
- ผลไม้(อนุบาล 1/2ส่วนประถม 1ส่วน) ต่อมื้อ ต่อคน
2. ระดับความสำเร็จของโรงเรียนชุมชนในการพัฒนาด้านการจัดการเชื่อมโยงอาหาร โภชนาการ สุขภาพ อยู่ในระดับ 4
- โรงเรียนได้ดำเนินการบันทึกข้อมูลรายการอาหารโดยโปรแกรม Thai School Lunch
- โรงเรียนและชุมชนได้ประสานการดำเนินงาน สามารถสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงอาหาร โภชนาการ สุขภาพ อยู่ในระดับ 4
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านพรุจูด
รหัสโครงการ ศรร.1411-123 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.26 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่ในเชิงพาณิชย์มีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง โรงเรียนจึงไม่มีงบประมาณในการปฏิบัติกิจกรรม แต่หลังจากได้รับอนุมัติโครงการจาก สสส. ทำให้โรงเรียนมีต้นทุนในการดำเนินการ ซึ่งจากการปฏิบัติดังกล่าว ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ จากผู้เชี่ยวชาญ และได้ลงมือปฏิบัติจริงอย่างครบวงจร ทำให้นักเรียนสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างอาชีพในครอบครัวได้
- โครงการ
- ภาพถ่่าย
- บันทึกรายรับ-รายจ่าย
- บันทึกจำนวนไข่ไก่ในแต่ละวัน
ให้ผู้ปกครองหรือชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล บริหารจัดการร่วมกัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดกิจกรรมอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch
- ผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน จัดทำรายการอาหารเป็นรายเดือน
บันทึกวัสดุตามรายการอาหารลงในโปรแกรมอาหารกลางวัน Thai School lunch แล้วตรวจสอบวัตถุดิบ และคุณค่าอาหาร ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
นำรายการอาหารไปติดป้ายประกาศที่โรงอาหาร
ครูที่รับผิดชอบ จัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษเป็นประจำทุกวัน และมอบให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน
ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ได้รับการอบรมจาก โรงพยาบาลประจำอำเภอ และผ่านการตรวจสุขภาพ
ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม "อาหารปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง" เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คัดกรองนักเรียน
- ครูประจำชั้นดำเนินการคัดกรองนักเรียนตามแบบฟอร์มของโรงเรียน ประกอบด้วย SDQ และการคัดกรองด้านสุขภาพของนักเรียน
- ครูอนามัยโรงเรียนสรุปผลการคัดกรองในภาพรวมของโรงเรียน
- ผู้บริหารวางแผนการแก้ไขปัญหา โดยบูรณาการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมแม่ไม้มวยไทย
เป็นกิจกรรมออกกำลังกายในตอนเช้าหลังกิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาติ ซึ่งนักเรียนทุกคนจะได้ออกกำลังกาย โดยเต้นแอโรบิคในท่าแม่ไม้มวยไทย
ประกวดเต้นแอโรบิคแม่ไม้มวยไทย และรณรงค์ให้ชุมชนได้มี่ส่วนร่วมใจกิจกรรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
กิจกรรมคัดแยกขยะ
โรงเรียนได้รับการสนุนสนุนจากภาคีเครือข่าย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ให้ดำเนินกิจกรรมแยกขยะ โดยขยะทั้งหมดจะแบ่งเป็นขยะที่สามารถนำไปขายได้ ส่วนขยะเปียกที่เกิดจากเศษอาหาร จะนำไปทำเป็นปุ๋ยจุลินทรีย์ เพื่อใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
กิจกรรมขยะแลกไข่ เนื่องจากโรงเรียนมีผลผลิตคือ ไข่ จากกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหาารกลางวัน ซึ่งมีปริมาณเกินความต้องการบริโภคของนักเรียนในแต่ละวัน จึงเห็นควรจัดกิจกรรมขยะแลกไข่ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนได้คัดแยกขยะ และให้ได้บริโภคไข่ไก่ที่มีคุณภาพต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านพรุจูด จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1411-123
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุวิทย์ ดาวังปา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านพรุจูด ”
หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ ดาวังปา
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1411-123 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.26
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านพรุจูด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านพรุจูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านพรุจูด
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านพรุจูด " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ศรร.1411-123 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านพรุจูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 105 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านพรุจูด จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านพรุจูด ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. ในการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- นักเรียน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีโภชนาการเจริญเติบโตสมวัย โดยการรับประทานอาหารครบทั้ง 5 หมู่ และได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย
- บุคลากรในโรงเรียนได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการอาหารและโภชนาการ แบบครบวงจร
- โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการต่อไป
- นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ เพื่อเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้
- นักเรียนสามารถหารายได้ระหว่างเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดกับกิจกรรมในครอบครัวได้
- นักเรียนมีความสุขในการเรียน และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้รับผิดชอบในการเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟ้า ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการดูแลเห็ดนางฟ้า การเก็บผลผลิต การแบ่งขาย และการจัดทำบัญชีรับ-จ่าย
|
201 | 10 |
2. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 1) |
||
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
2 | 1 |
3. สหกรณ์ของฉัน |
||
วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
106 | 0 |
4. การพัฒนาบุคลากรเรื่องการเกษตร |
||
วันที่ 21 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้เรียนรู้การทำเกษตรในโรงเรียนจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน พร้อมได้ทดลองลงมือปฏิบัติจริง
|
40 | 0 |
5. การปลูกพืชผักสวนครัว |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
105 | 42 |
6. ชุมนุมอาชีพขนมโค |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
24 | 10 |
7. ชุมนุมอาชีพขนมลา |
||
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
12 | 15 |
8. ชุมนุมอาชีพขนมทอดมัน |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
18 | 0 |
9. ชุมนุมอาชีพกล้วยฉาบ |
||
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
16 | 14 |
10. ชุมนุมอาชีพขนมจาก |
||
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 15 |
11. ชุมนุมอาชีพขนมข้าวต้มมัด |
||
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
12 | 10 |
12. ชุมนุมอาชีพขนมบัวลอย |
||
วันที่ 13 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
16 | 18 |
13. จัดซื้อแม่พันธุ์ไก่ไข่และอาหารไก่ |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
201 | 113 |
14. การติดตามภาวะโภชนาการอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก |
||
วันที่ 18 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
64 | 64 |
15. ชุมนุมอาชีพขนมต้มลาว |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
16 | 12 |
16. ชุมนุมอาชีพขนมต้ม |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 11 |
17. ศึกษาดูงาน |
||
วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนบ้านลำทับ อ.ลำทับ จ.กระบี่ เป็นโรงเรียนมีสามารถดำเนินกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสได้อย่างดีเยี่ยม ทุกองค์ประกอบมีกระบวนการ และผลการดำเนินงานที่ชัดเจน คณะครูและนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
|
30 | 30 |
18. ชุมนุมอาชีพขนมเทียน |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 0 |
19. ชุมนุมอาชีพขนมไข่นก |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
17 | 12 |
20. ชุมนุมอาชีพบ๊ะจ่าง |
||
วันที่ 3 มกราคม 2560 เวลา 09:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
19 | 19 |
21. อาหารและโภชนาการ |
||
วันที่ 14 มกราคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
105 | 0 |
22. จัดซื้ออาหารไก่ |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
2 | 16 |
23. คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยโครงการให้กับ สอส. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ยโครงการให้กับ สอส. เรียบร้อย
|
0 | 0 |
24. ประชุมตรวจเอกสารการดำเนินงาน (งวด 3) |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
2 | 1 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน7% - ภาวะผอมไม่เกิน 7%ดูน้ำหนักตามเกณฑ์และส่วนสูง - ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7% |
ผลการประเมินตามตัวชี้วัด พบว่า
1. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน อยู่ในระดับ 8.42% ซึ่งเกินระดับตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ แต่ผลการประเมินดังกล่าว มีแนวโน้มลดลง |
|||
2 | 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ย - ผักวันละประมาณ 40-100 กรัม (อนุบาล 3 ช้อน (50กรัม)ประถม4 ช้อน (70กรัม) - ผลไม้(อนุบาล 1/2ส่วนประถม 1ส่วน) ต่อมื้อ ต่อคน 2. ระดับความสำเร็จของโรงเรียนชุมชนในการพัฒนาด้านการจัดการเชื่อมโยงอาหาร โภชนาการ สุขภาพ อยู่ในระดับ 4 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านพรุจูด
รหัสโครงการ ศรร.1411-123 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.26 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่ในเชิงพาณิชย์มีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง โรงเรียนจึงไม่มีงบประมาณในการปฏิบัติกิจกรรม แต่หลังจากได้รับอนุมัติโครงการจาก สสส. ทำให้โรงเรียนมีต้นทุนในการดำเนินการ ซึ่งจากการปฏิบัติดังกล่าว ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ จากผู้เชี่ยวชาญ และได้ลงมือปฏิบัติจริงอย่างครบวงจร ทำให้นักเรียนสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างอาชีพในครอบครัวได้
- โครงการ
- ภาพถ่่าย
- บันทึกรายรับ-รายจ่าย
- บันทึกจำนวนไข่ไก่ในแต่ละวัน
ให้ผู้ปกครองหรือชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล บริหารจัดการร่วมกัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดกิจกรรมอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch
- ผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน จัดทำรายการอาหารเป็นรายเดือน
บันทึกวัสดุตามรายการอาหารลงในโปรแกรมอาหารกลางวัน Thai School lunch แล้วตรวจสอบวัตถุดิบ และคุณค่าอาหาร ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
นำรายการอาหารไปติดป้ายประกาศที่โรงอาหาร
ครูที่รับผิดชอบ จัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษเป็นประจำทุกวัน และมอบให้ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน
ผู้ประกอบการอาหารกลางวัน ได้รับการอบรมจาก โรงพยาบาลประจำอำเภอ และผ่านการตรวจสุขภาพ
ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม "อาหารปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง" เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คัดกรองนักเรียน
- ครูประจำชั้นดำเนินการคัดกรองนักเรียนตามแบบฟอร์มของโรงเรียน ประกอบด้วย SDQ และการคัดกรองด้านสุขภาพของนักเรียน
- ครูอนามัยโรงเรียนสรุปผลการคัดกรองในภาพรวมของโรงเรียน
- ผู้บริหารวางแผนการแก้ไขปัญหา โดยบูรณาการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมแม่ไม้มวยไทย
เป็นกิจกรรมออกกำลังกายในตอนเช้าหลังกิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาติ ซึ่งนักเรียนทุกคนจะได้ออกกำลังกาย โดยเต้นแอโรบิคในท่าแม่ไม้มวยไทย
ประกวดเต้นแอโรบิคแม่ไม้มวยไทย และรณรงค์ให้ชุมชนได้มี่ส่วนร่วมใจกิจกรรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
กิจกรรมคัดแยกขยะ
โรงเรียนได้รับการสนุนสนุนจากภาคีเครือข่าย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ให้ดำเนินกิจกรรมแยกขยะ โดยขยะทั้งหมดจะแบ่งเป็นขยะที่สามารถนำไปขายได้ ส่วนขยะเปียกที่เกิดจากเศษอาหาร จะนำไปทำเป็นปุ๋ยจุลินทรีย์ เพื่อใช้ในการเกษตรในโรงเรียน
กิจกรรมขยะแลกไข่ เนื่องจากโรงเรียนมีผลผลิตคือ ไข่ จากกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหาารกลางวัน ซึ่งมีปริมาณเกินความต้องการบริโภคของนักเรียนในแต่ละวัน จึงเห็นควรจัดกิจกรรมขยะแลกไข่ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนได้คัดแยกขยะ และให้ได้บริโภคไข่ไก่ที่มีคุณภาพต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านพรุจูด
รหัสโครงการ ศรร.1411-123 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.26 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่ในเชิงพาณิชย์มีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง โรงเรียนจึงไม่มีงบประมาณในการปฏิบัติกิจกรรม แต่หลังจากได้รับอนุมัติโครงการจาก สสส. ทำให้โรงเรียนมีต้นทุนในการดำเนินการ ซึ่งจากการปฏิบัติดังกล่าว ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ จากผู้เชี่ยวชาญ และได้ลงมือปฏิบัติจริงอย่างครบวงจร ทำให้นักเรียนสามารถนำไปต่อยอดในการสร้างอาชีพในครอบครัวได้ |
|
ให้ผู้ปกครองหรือชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแล บริหารจัดการร่วมกัน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การจัดกิจกรรมอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School lunch |
|
ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม "อาหารปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง" เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | คัดกรองนักเรียน |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | กิจกรรมแม่ไม้มวยไทย |
เป็นกิจกรรมออกกำลังกายในตอนเช้าหลังกิจกรรมเข้าแถวเคารพธงชาติ ซึ่งนักเรียนทุกคนจะได้ออกกำลังกาย โดยเต้นแอโรบิคในท่าแม่ไม้มวยไทย |
ประกวดเต้นแอโรบิคแม่ไม้มวยไทย และรณรงค์ให้ชุมชนได้มี่ส่วนร่วมใจกิจกรรม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | กิจกรรมคัดแยกขยะ |
โรงเรียนได้รับการสนุนสนุนจากภาคีเครือข่าย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน ให้ดำเนินกิจกรรมแยกขยะ โดยขยะทั้งหมดจะแบ่งเป็นขยะที่สามารถนำไปขายได้ ส่วนขยะเปียกที่เกิดจากเศษอาหาร จะนำไปทำเป็นปุ๋ยจุลินทรีย์ เพื่อใช้ในการเกษตรในโรงเรียน |
กิจกรรมขยะแลกไข่ เนื่องจากโรงเรียนมีผลผลิตคือ ไข่ จากกิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหาารกลางวัน ซึ่งมีปริมาณเกินความต้องการบริโภคของนักเรียนในแต่ละวัน จึงเห็นควรจัดกิจกรรมขยะแลกไข่ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนได้คัดแยกขยะ และให้ได้บริโภคไข่ไก่ที่มีคุณภาพต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านพรุจูด จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ ศรร.1411-123
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุวิทย์ ดาวังปา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......