แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) ”
ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช โพธิ์แก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)
ที่อยู่ ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ ศรร.1213-042 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.11
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ รหัสโครงการ ศรร.1213-042 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 982 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นฟ
โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)ได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
- เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
- เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
- เป็นแหล่งเรียนรู้การเกษตรครบวงจรให้กับนักเรียนครูผู้ปกครองและชุมชน
- นักเรียนมีทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
- นักเรียนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้ความารู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
บรรยายขั้นตอนการปลูกผัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน300 โดยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4-6เรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกพืช ผลผลิตที่ได้ในแต่ละครั้งประมาณ10-15 กิโลกรัม
นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักตั้งแต่การเตรียมแปลงปลูกการดูแลรักษาการจัดจำหน่ายและการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
300
270
2. เลี้ยงปลาดุก
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เตรียมบ่อ
ปล่อยพันธุ์ปลา
อยู่ระหว่างการเลี้ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)อยู่ระหว่างการเลี้ยงปลานักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแล
/ ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง นักเรียนเกิดความรักเอาใจใส่หน้าที่
เกิดการเรียนรู้การทำงานตามหลักการสหกรณ์
47
57
3. เพาะเห็ด
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต ผลผลิตเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
ผลลัพธ์ นักเรียนได้รับประทานเห็ดจากการปลูกของโรงงเรียน
นักเรียนมีความรับผิดชอบ
480
482
4. ส่งเอกสาร
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ส่งเอกสาร
0
0
5. การประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับทราบข้อมูลการจัดทำกิจกรรม
2
0
6. การเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 15 กระสอบการซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับอาหารไก่ไข่
30
26
7. ปลูกผัก
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-การปลูกผัก ตั่งแต่การเตรียมแปลง การควบคุมโรคแมลงศัตรูพืช การเลือกใช้วัสดุป้องกำจัด การดูแลรักษา และการเก็ยเกี่ยว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนจำนว 55 คนได้เรียนรู้กระบวนการและขั้นตอนที่ถูกต้องและเหมาะสม นำไปใช้มนชีวิตประจำวันได้
150
52
8. อบรมผู้นาอนามัย และอย.น้อย
วันที่ 14 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมโดยแบ่งครูและวิทยาการออกเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 9 ฐาน จากนั้นแบ่งนักเรียน ออกเป็น 9 กลุ่มๆละเท่าๆกัน โดยใช้วิธีการเวียนฐานการเรียนรู้ให้ครบทั้งหมด โดยแต่ละฐานมีการให้ความรู้ เช่น การใช้ยา
การเลือกรับประทานอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
นักเรียนจำนวน 165 คนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
นักเรียนจำนวน 165 คนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ยาให้ถูกวิธี การป้องกันตนเอง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ผลลัพธ์
นักเรียนจำนวน 165 สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถแนะนำเพื่อนนักเรียน ผู้ปกครอง ญาติ และผุ้อื่นในชุมชนของตนเอง
174
174
9. วัสดุการเลี้ยงไก่
วันที่ 14 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อปูนขาวและแกลบดิบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
ได้ปูนขาวและแกลบดิบ
ผลลัพธ์
ได้แกลบดิบมาใช้ในการรองรับมูลไก่ไข่และใช้ปูนขาวเพื่อลดกลิ่นที่เกิดจากมูลไก่ทำให้นักเรียนสามารถเข้าปฏิบัติงานทั้งในโรงเรือนเลี้ยงไก่และบริเวณโดยรอบ
38
39
10. การเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับอาหารไก่ไข่แต่ทั้งนี้มีการปรับเปลี่ยนยี่ห้ออาหารไก่ไข่เพื่อเปรียบเทียบดูผลผลิตไข่ที่ได้ พบว่าไข่มีขนาดใหญ่ขึ้น สีของไข่แดงสวยขึ้น
0
0
11. อบรม ผู้ปกครอง ครู ชุมชน
วันที่ 22 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรม โดยเน้นบรรยาบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ การออกกำลังกาย การจัดอาหารให้ครบทั้ง5 หมู่ ของผู้ปกครองและ การจัดบริการอาหารของโรงเรียนการตักอาหารให้นักเรียนของครู
การจัดทำอาหารให้เหมาะสม การดูแลสถานที่ บุคลากรที่ประกอบอาหารให้สะอาดและปลอดภัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครอง ครู ชุมชน และแม่ครัวจำนวน 230 คน ได้รับทราบและเข้าใจการดูแลบุตรหลาน นักเรียน เพื่อได้จัดการการดูแลบุตรหลานให้ได้สุขภาพและอนามัยที่ดี
ครูได้ดูแลนักเรียนด้านสุขภาพอนามัยได้เหมาะสม แม่ครัวประกอบอาหารที่สะอาด ปลอดภัยต่อนักเรียน
165
218
12. เลี้ยงกบ
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อพ่อแม่พันธุ์กบ เพื่อผลิตลูกพันธุ์ ในการเพาะเลี้ยงให้ได้ตามปริมาณที่ต้องการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนโรงเรียนวัดสวนส้มได้เรียนรู้และเกิดทักษะการเลี้ยงกบที่ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่หรือชุมชนที่อยู่เนื่องจากอยู่ในชุมชนเมืองมีพื้นที่จำกัด นักเรียนเกิดทักษะการเพาะเลี้ยงกบในบ่อซีเมนต์
150
211
13. การเลี้ยงกบ
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้ออาหารกบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไดรับอาหารกบตามที่ต้องการ กบได้รับอาหารทำให้เกิดการเจริญเติบโต มีอาหารเพื่อทำให้กบใหม่ที่นำเข้ามามีความพร้องในการเพาะพันธุ์
117
159
14. สหกรณ์นักเรียน
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรร์นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดทำข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมา หลักการ การให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับสหกรณ์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกรณ์ที่ถูกต้อง
52
50
15. การเลี้ยงไก่
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับอาหารไก่ ไก่ได้รับอาหารที่เหมาะสม
0
0
16. อาหารปลา
วันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้ออาหารปลาดุก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้จัดซื้ออาหารปลาดุกเพื่อใช้เป็นอาหารสำหรับปลาดุกที่เลี้ยงไว้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาที่สภาวะแวดล้อมที่สอดคล้องกัับวิถีชุมชนเมืองที่มีพื้นที่น้อยสามารถนำไปประยุกค์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
40
46
17. ค่ายแกนนำนักเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมการอบรมนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้นักเรียนสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้ไปสู่ นักเรียนด้วยกันไม่ว่าจะเป็น รุ้นพี่หรือรุ่นน้องตลอดจนเพื่อนนักเรียนในชั้นเดียวกัน และสามารถถ่ายทอดให้กับบุลคลภายนอกที่สนใจหรือเข้ามศึกษาดุูงานภายในโรงเรียนอีกด้วย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-นักเรียนเข้าอบรมจำนวน 55 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถถ่ายทอดให้กับผู้ที่สนใจได้
140
102
18. การเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไดรับอาหารไก่
0
0
19. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย
วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยให้ สสส. จำนวน 29.43 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ยอดเงินในบัญชีเท่ากับ 0 บาท
1
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี
ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 %
ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 3 %
ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ยไม่เกิน 4 %
นักเรียนได้เจริญเติบโตสมวัย ตามตัวชี้วัด
2
เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย
ผักวันละ (อนุบาล40กรัม ประถม60กรัม)ผลไม้(อนุบาล 4ส่วน ประถม 6 ส่วนๆละพอดีคำ) ต่อมื้อต่อคน
นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก อนุบาลวันละ 40 กรัม ประถม วันละ ุ60 กรัม และกินผลไม้ อนุบาล 4 ส่วน ต่อมื้อต่อคน ประถม 6 ส่วน ต่อมื้อต่อคน
3
เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คือมีความรู้มีคุณธรรมใช้ความพอประมาณอยู่บนพื้นฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน
นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความรู้ มีคุณธรรม ใช้ความพอประมาณ อยู่บนฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน นำสู่ 4 มิติ คือ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สร้างความสมดุล พร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร (2) เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)
รหัสโครงการ ศรร.1213-042 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.11 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกผักลอยฟ้าการปลูกผักในขวด
เป็นการปลูกผักในภาชนะที่ใช้เพื่อที่น้องเหมาะกับวิถีชุมชนเมือง
ลักษณะ ปลูกพืชผักสวนสครัว ผักตารางฟุต ผักกางมุ้ง ผักไฮโดรโฟรนิค
ขั้นตอน ให้นักเรียนเตรียมดินและวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผัก
รายละเอียด แบ่งเป็นฐานการเรียรู้ นักเรียนได้รับมอบหมายจากครูและแบ่งกลุ่มรับผิดชอบในแต่ละฐานการเรียนรู้
หลักฐาน ภาพถ่าย การนำเสนอ แผ่นพับ โรดแม็บ
แหล่งอ้างอิง ฐานการเรียนรู้ที่จัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน รายชื่อคณะที่มาศึกษาดูงาน
โรงเรียนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ได้จัดทำแหล่งเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีใหม่ และได้ขยายผลไปยังเครือข่ายโดยมีคณะต่างๆมาศึกษาดูงานเป็นจำนวนมาก
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
สหกรณ์ครบวงจร มีสหกรณ์การผลิตสหกรณ์ร้านค้า
สหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์บริการ
พัฒนาเข้าสู่ระบบสหกรณ์ออนไลน์โดยอาจมีการซื้อขายผลผลิตทั้งของโรงเรียนและผู้ปกครอง ชุมชนผ่านโรงเรียนออกสู่ภายนอก ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีอยู่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
- กิจกรรมแม่ลูกสูตรเด็ด เคล็ดลับสุขภาพดี
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทอง
- กิจกรรม กีฬาพาสนุก สู่ความเป็นเลิศ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
- กิจกรรมเข้าค่ายแกนนำเด็กไทยแก้มใส
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
- กิจกรรมอย.น้อย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ ศรร.1213-042
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธวัช โพธิ์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) ”
ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
หัวหน้าโครงการ
นายธวัช โพธิ์แก้ว
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ ศรร.1213-042 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.11
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) จังหวัดสมุทรปราการ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำโรงใต้ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ รหัสโครงการ ศรร.1213-042 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 982 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นฟ
โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)ได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
- เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
- เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
- เป็นแหล่งเรียนรู้การเกษตรครบวงจรให้กับนักเรียนครูผู้ปกครองและชุมชน
- นักเรียนมีทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
- นักเรียนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้ความารู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำบรรยายขั้นตอนการปลูกผัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน300 โดยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4-6เรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกพืช ผลผลิตที่ได้ในแต่ละครั้งประมาณ10-15 กิโลกรัม นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการปลูกผักตั้งแต่การเตรียมแปลงปลูกการดูแลรักษาการจัดจำหน่ายและการจัดการหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
|
300 | 270 |
2. เลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเตรียมบ่อ ปล่อยพันธุ์ปลา อยู่ระหว่างการเลี้ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)อยู่ระหว่างการเลี้ยงปลานักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแล
|
47 | 57 |
3. เพาะเห็ด |
||
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลผลิตเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
|
480 | 482 |
4. ส่งเอกสาร |
||
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นส่งเอกสาร
|
0 | 0 |
5. การประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำรายงานโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับทราบข้อมูลการจัดทำกิจกรรม
|
2 | 0 |
6. การเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 15 กระสอบการซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับอาหารไก่ไข่
|
30 | 26 |
7. ปลูกผัก |
||
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-การปลูกผัก ตั่งแต่การเตรียมแปลง การควบคุมโรคแมลงศัตรูพืช การเลือกใช้วัสดุป้องกำจัด การดูแลรักษา และการเก็ยเกี่ยว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนจำนว 55 คนได้เรียนรู้กระบวนการและขั้นตอนที่ถูกต้องและเหมาะสม นำไปใช้มนชีวิตประจำวันได้
|
150 | 52 |
8. อบรมผู้นาอนามัย และอย.น้อย |
||
วันที่ 14 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมโดยแบ่งครูและวิทยาการออกเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 9 ฐาน จากนั้นแบ่งนักเรียน ออกเป็น 9 กลุ่มๆละเท่าๆกัน โดยใช้วิธีการเวียนฐานการเรียนรู้ให้ครบทั้งหมด โดยแต่ละฐานมีการให้ความรู้ เช่น การใช้ยา การเลือกรับประทานอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต นักเรียนจำนวน 165 คนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ นักเรียนจำนวน 165 คนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ยาให้ถูกวิธี การป้องกันตนเอง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ผลลัพธ์ นักเรียนจำนวน 165 สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถแนะนำเพื่อนนักเรียน ผู้ปกครอง ญาติ และผุ้อื่นในชุมชนของตนเอง
|
174 | 174 |
9. วัสดุการเลี้ยงไก่ |
||
วันที่ 14 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อปูนขาวและแกลบดิบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ได้ปูนขาวและแกลบดิบ ผลลัพธ์ ได้แกลบดิบมาใช้ในการรองรับมูลไก่ไข่และใช้ปูนขาวเพื่อลดกลิ่นที่เกิดจากมูลไก่ทำให้นักเรียนสามารถเข้าปฏิบัติงานทั้งในโรงเรือนเลี้ยงไก่และบริเวณโดยรอบ
|
38 | 39 |
10. การเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับอาหารไก่ไข่แต่ทั้งนี้มีการปรับเปลี่ยนยี่ห้ออาหารไก่ไข่เพื่อเปรียบเทียบดูผลผลิตไข่ที่ได้ พบว่าไข่มีขนาดใหญ่ขึ้น สีของไข่แดงสวยขึ้น
|
0 | 0 |
11. อบรม ผู้ปกครอง ครู ชุมชน |
||
วันที่ 22 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรม โดยเน้นบรรยาบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ การออกกำลังกาย การจัดอาหารให้ครบทั้ง5 หมู่ ของผู้ปกครองและ การจัดบริการอาหารของโรงเรียนการตักอาหารให้นักเรียนของครู การจัดทำอาหารให้เหมาะสม การดูแลสถานที่ บุคลากรที่ประกอบอาหารให้สะอาดและปลอดภัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครอง ครู ชุมชน และแม่ครัวจำนวน 230 คน ได้รับทราบและเข้าใจการดูแลบุตรหลาน นักเรียน เพื่อได้จัดการการดูแลบุตรหลานให้ได้สุขภาพและอนามัยที่ดี ครูได้ดูแลนักเรียนด้านสุขภาพอนามัยได้เหมาะสม แม่ครัวประกอบอาหารที่สะอาด ปลอดภัยต่อนักเรียน
|
165 | 218 |
12. เลี้ยงกบ |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อพ่อแม่พันธุ์กบ เพื่อผลิตลูกพันธุ์ ในการเพาะเลี้ยงให้ได้ตามปริมาณที่ต้องการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนโรงเรียนวัดสวนส้มได้เรียนรู้และเกิดทักษะการเลี้ยงกบที่ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่หรือชุมชนที่อยู่เนื่องจากอยู่ในชุมชนเมืองมีพื้นที่จำกัด นักเรียนเกิดทักษะการเพาะเลี้ยงกบในบ่อซีเมนต์
|
150 | 211 |
13. การเลี้ยงกบ |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้ออาหารกบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไดรับอาหารกบตามที่ต้องการ กบได้รับอาหารทำให้เกิดการเจริญเติบโต มีอาหารเพื่อทำให้กบใหม่ที่นำเข้ามามีความพร้องในการเพาะพันธุ์
|
117 | 159 |
14. สหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรร์นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมา หลักการ การให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับสหกรณ์เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกรณ์ที่ถูกต้อง
|
52 | 50 |
15. การเลี้ยงไก่ |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับอาหารไก่ ไก่ได้รับอาหารที่เหมาะสม
|
0 | 0 |
16. อาหารปลา |
||
วันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้ออาหารปลาดุก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้จัดซื้ออาหารปลาดุกเพื่อใช้เป็นอาหารสำหรับปลาดุกที่เลี้ยงไว้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาที่สภาวะแวดล้อมที่สอดคล้องกัับวิถีชุมชนเมืองที่มีพื้นที่น้อยสามารถนำไปประยุกค์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
40 | 46 |
17. ค่ายแกนนำนักเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง |
||
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมการอบรมนักเรียนเพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้นักเรียนสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้ไปสู่ นักเรียนด้วยกันไม่ว่าจะเป็น รุ้นพี่หรือรุ่นน้องตลอดจนเพื่อนนักเรียนในชั้นเดียวกัน และสามารถถ่ายทอดให้กับบุลคลภายนอกที่สนใจหรือเข้ามศึกษาดุูงานภายในโรงเรียนอีกด้วย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-นักเรียนเข้าอบรมจำนวน 55 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถถ่ายทอดให้กับผู้ที่สนใจได้
|
140 | 102 |
18. การเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการซื้ออาหารไก่ไข่เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการและไม่ขาดแคลนไก่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าสูงนักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการทำงานเกิดการวางแผนทำงานได้สำเร็จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไดรับอาหารไก่
|
0 | 0 |
19. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย |
||
วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยให้ สสส. จำนวน 29.43 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นยอดเงินในบัญชีเท่ากับ 0 บาท
|
1 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 3 % ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ยไม่เกิน 4 % |
นักเรียนได้เจริญเติบโตสมวัย ตามตัวชี้วัด |
|||
2 | เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผักวันละ (อนุบาล40กรัม ประถม60กรัม)ผลไม้(อนุบาล 4ส่วน ประถม 6 ส่วนๆละพอดีคำ) ต่อมื้อต่อคน |
นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก อนุบาลวันละ 40 กรัม ประถม วันละ ุ60 กรัม และกินผลไม้ อนุบาล 4 ส่วน ต่อมื้อต่อคน ประถม 6 ส่วน ต่อมื้อต่อคน |
|||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความรู้มีคุณธรรมใช้ความพอประมาณอยู่บนพื้นฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน |
นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความรู้ มีคุณธรรม ใช้ความพอประมาณ อยู่บนฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน นำสู่ 4 มิติ คือ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สร้างความสมดุล พร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร (2) เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)
รหัสโครงการ ศรร.1213-042 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.11 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกผักลอยฟ้าการปลูกผักในขวด
เป็นการปลูกผักในภาชนะที่ใช้เพื่อที่น้องเหมาะกับวิถีชุมชนเมือง
ลักษณะ ปลูกพืชผักสวนสครัว ผักตารางฟุต ผักกางมุ้ง ผักไฮโดรโฟรนิค
ขั้นตอน ให้นักเรียนเตรียมดินและวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผัก
รายละเอียด แบ่งเป็นฐานการเรียรู้ นักเรียนได้รับมอบหมายจากครูและแบ่งกลุ่มรับผิดชอบในแต่ละฐานการเรียนรู้
หลักฐาน ภาพถ่าย การนำเสนอ แผ่นพับ โรดแม็บ
แหล่งอ้างอิง ฐานการเรียนรู้ที่จัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน รายชื่อคณะที่มาศึกษาดูงาน
โรงเรียนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ได้จัดทำแหล่งเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีใหม่ และได้ขยายผลไปยังเครือข่ายโดยมีคณะต่างๆมาศึกษาดูงานเป็นจำนวนมาก
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
สหกรณ์ครบวงจร มีสหกรณ์การผลิตสหกรณ์ร้านค้า
สหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์บริการ
พัฒนาเข้าสู่ระบบสหกรณ์ออนไลน์โดยอาจมีการซื้อขายผลผลิตทั้งของโรงเรียนและผู้ปกครอง ชุมชนผ่านโรงเรียนออกสู่ภายนอก ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีอยู่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
- กิจกรรมแม่ลูกสูตรเด็ด เคล็ดลับสุขภาพดี
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทอง
- กิจกรรม กีฬาพาสนุก สู่ความเป็นเลิศ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
- กิจกรรมเข้าค่ายแกนนำเด็กไทยแก้มใส
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
- กิจกรรมอย.น้อย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล)
รหัสโครงการ ศรร.1213-042 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.11 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การปลูกผักลอยฟ้าการปลูกผักในขวด เป็นการปลูกผักในภาชนะที่ใช้เพื่อที่น้องเหมาะกับวิถีชุมชนเมือง |
ลักษณะ ปลูกพืชผักสวนสครัว ผักตารางฟุต ผักกางมุ้ง ผักไฮโดรโฟรนิค ขั้นตอน ให้นักเรียนเตรียมดินและวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผัก รายละเอียด แบ่งเป็นฐานการเรียรู้ นักเรียนได้รับมอบหมายจากครูและแบ่งกลุ่มรับผิดชอบในแต่ละฐานการเรียนรู้ หลักฐาน ภาพถ่าย การนำเสนอ แผ่นพับ โรดแม็บ แหล่งอ้างอิง ฐานการเรียนรู้ที่จัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน รายชื่อคณะที่มาศึกษาดูงาน |
โรงเรียนได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ได้จัดทำแหล่งเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีใหม่ และได้ขยายผลไปยังเครือข่ายโดยมีคณะต่างๆมาศึกษาดูงานเป็นจำนวนมาก |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | สหกรณ์ครบวงจร มีสหกรณ์การผลิตสหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์บริการ |
|
พัฒนาเข้าสู่ระบบสหกรณ์ออนไลน์โดยอาจมีการซื้อขายผลผลิตทั้งของโรงเรียนและผู้ปกครอง ชุมชนผ่านโรงเรียนออกสู่ภายนอก ใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีอยู่ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนวัดสวนส้ม(สุขประชานุกูล) จังหวัด สมุทรปราการ
รหัสโครงการ ศรร.1213-042
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธวัช โพธิ์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......