แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ ”
ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
หัวหน้าโครงการ
นายพยนต์ นาคธรรมขันธ์
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์
ที่อยู่ ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จังหวัด นครปฐม
รหัสโครงการ ศรร.1213-034 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.3
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ จังหวัดนครปฐม" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม รหัสโครงการ ศรร.1213-034 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 463 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียนโดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็น การพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คนและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะจากการเรียนรู้จริงในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนและการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และโภชนาการเหมาะสมตามวัย
- 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนทุกระดับชั้น
- 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในการดูแลสุขภาพของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- 4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และความตื่นตัวของชุมชนในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพลโภชนาการ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนม่ส่วนร่วม ในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารมีความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- โรงเรียน บ้าน และชุมชนเกิดกระแสตื่นตัว ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนนักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
วันที่ 15 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ได้ชี้แจงความเป็นมาของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและทำความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองนักเรียนได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมของโครงการ
159
119
2. จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 12:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ ได้แก่ ถั่วฝักยาว ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า และต้นพันธุ์ ได้แก่ ต้นมะเขือ ต้นมะเขือเทศ ต้นพริกขี้หนู
- นักเรียนจัดหาต้นพันธุ์พืชในชุมชนและนำมาปลูกในโรงเรียน ได้แก่ ต้นกะเพรา ตะไคร้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนร่วมกันปลูกถั่วฝักยาว ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า ต้นมะเขือ ต้นมะเขือเทศ ต้นพริกขี้หนู ต้นกะเพรา ตะไคร้
และสามารถนำผลผลิตที่ได้มาจัดทำอาหารกลางวัน
245
245
3. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อน้ำยาล้างห้องน้ำทำความสะอาดห้องน้ำห้องส้วม
- แนะนำวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์ให้กับนักเรียน
- นักเรียนลงมือปฏิบัติ ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ห้องน้ำสะอาดขึ้น ถูกสุขลักษณะ
2. นักเรียนสามารถปฏิบัติตามคำแนะนำได้อย่างถูกต้อง
- ปลูกฝังให้นักเรียนรักความสะอาด
55
55
4. ออกกำลังกาย
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดซื้อฮูลาฮุก จำนวน 100 อัน
2.จัดซื้อเชือกกระโดด จำนวน 100 เส้น
3.จัดอบรมนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ให้ลดลง
4.ค่าดำเนินกิจกรรมชมรม "หุ่นสวย วัยใส ห่างไกลความอ้วน"
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ ให้ความสนใจและสนุกกับการร่วมกิจกรรมนี้เป็นอย่างมาก
449
0
5. ซื้อก้อนเชื้อเห็ด ครั้งที่1
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดซื้อก้อนเห็ด
2.ดูแลรักษา เช่น การรดน้ำ การดูแลโรงเห็ดให้สะอาด
3.เก็บผลผลิต ส่งให้สหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายในโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผลผลิตและนำไปส่งให้กับสหกรณ์โรงเรียนจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน เพื่อนำไปประกอบอาหาร
12
12
6. โครงการพัฒนาการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- กำหนดวัน เวลาในการจัดการอบรมโครงการพัฒนาการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน
- จัดเตรียมสถานที่ในการอบรมจัดเตรียมอาหารว่างและเครื่่องดื่ม
- ติดต่อเชิญวิทยากรจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครปฐม
- นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนางานสหกรณ์อย่างเป็นระบบ
- ประเมินความพึงพอใจในการเข้ารับการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนและคณะทำงานของสหกรณ์โรงเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการจัดทำงานด้านต่างๆของสหกรณ์โรงเรียน และสามารถพัฒนาระบบของสหกรณ์ได้ดียิ่งขึ้น
- นักเรียนและคณะทำงานสามารถทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้ถูกต้องเป็นระบบ
37
37
7. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการอาหาร
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทำหนังสือเชิญผู้ประกอบการภายในโรงเรียนผู้ประกอบการบริเวณหน้าโรงเรียน
- ติดต่อวิทยากรมาให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ
- จัดเตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม
- จัดเตรียมเอกสารในการอบรม
- ประเมินผลนิเทศกำกับติดตามผลการดำเนินงานิย่างสม่ำเสมอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ประกอบอาหารในโรงเรียนและนอกโรงเรียนเห็นความสำคัญของสุขภาพ สุขลักษณะที่ดี
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวันในการเลือกซื้ออาหารที่มีคุณภาพ สะอาด ถูกหลักอนามัย
143
143
8. จัดกิจกรรมประกวดทำอาหารเพื่อสุขภาพ
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- รับสมัครนักเรียนที่จะเข้าแข่งขันทำอาหารเพื่อสุขภาพ และครูอธิบายความสำคัญถึงเมนูสุขภาพ
- ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพที่จะใช้ในการแข่งขัน
- ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือประกอบอาหารโดยเน้นถึงความสะอาดถูกต้องตามหลักโภชนาการ
- นักเรียนประเมินผลงานของตน และแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้คิดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
- นักเรียนได้ลงมือปฎิบัติจริงในการทำอาหารเพื่อสุขภาพ
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
20
20
9. จัดทำป้ายไวนิล
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการไว้ในโรงอาหาร
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากป้ายนิเทศโดยให้นักเรียนจดบันทึก จัดทำรายงาน
- จัดอภิปรายกลุ่มเพื่อให้นักเรียนนำผลที่เกิดจาการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ที่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสนใจรับประทานผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพมากขึ้น
449
449
10. จัดอบรมนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วน
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ติดต่อวิทยากรที่มีความรู้เรื่องภาวะโรคอ้วน
- จัดเตรียมเอกสารการอบรม
- จัดเตรียมของว่างสำหรับวิทยากรและนักเรียนที่เข้าอบรม
- จัดอบรมให้กับนักเรียนและครู บุคลากรที่เข้าอบรม
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
- นิเทศกำกับติดตามให้กิจกรรมบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง น้ำหนักลดลง
นักเรียนมีสุขภาพจิตที่ดี
นักเรียนมีความมั่นใจกล้าแสดงออก
75
75
11. จัดซื้อลูกปลาดุก
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดตั้งนักเรียนรับผิดชอบการเลี้ยงปลาดุก
- ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุกกับนักเรียนที่รับผิดชอบการเลี้ยงปลาดุก
- นักเรียนฝึกปฏิบัติจริงเป็นประจำทุกวัน
- นักเรียนนำผลผลิตส่งโครงการอาหารเพื่อให้นักเรียนได้บริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
- นักเรียนฝึกแปรูรุปอาหารจากปลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ลงมือปฎิบัติจริงในการเลี้ยงปลาดุก
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากโรงเรียนไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
- โรงเรียนสามารถนำปลาดุกที่เลี้ยงมาทำอาหารให้นักเรียนทานได้
11
11
12. จัดซื้อสารทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจ การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
2.ให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
3. ครูสาธิตการตรวจสอบปนเปื้อนในอาหารสดอาหารแห้ง
4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารจากผลผลิตในโรงครัว
5.นักเรียนสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารในร้านค้าในชุมชนตลาดนัด
6 สรุปผลการดำเนินงานการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้รับความรู้ เกี่ยวกับการตรวจสอบปนเปื้อนในอาหาร
2. นักเรียนโรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย ไร้สารพิษ
18
18
13. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำป้ายไวนิลบอกวิธีการใช้ห้องพยาบาล
- ติดป้ายให้ความรุ้เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเบื้องต้นในห้องพยาบาล
- จัดทำบันทึกการใช้ห้องพยาบาลการดูแลอาการเจ็บป่วยของนักเรียน
- แต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยนักเรียน
- แต่งตั้งนักเรียนทำความสะอาด จัดเก็บตู้ยาในห้องพยาบาล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตนเองเบื้องต้น
2.โรงเรียนมีห้องพยาบาลที่สุขอนามัยไว้บริการนักเรียน
3.โรงเรียนมียาสามัญประจำบ้านไว้บริการนักเรียน
4.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
449
449
14. การพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เชิญวิทยากรให้ความรู้ในเรื่อง การพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
- จัดเตรียมเอกสารการอบรมสื่อวัสดุ อุปกรณ์
- จัดเตรียมสถานที่
- จัดเตรียมผู้เข้ารับการอบรม
- จัดเตรียมอาหารว่างน้ำดื่ม
- เริ่มอบรมเวลา 9.00-12.00น.
- สรุปรายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขอนามัยนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้ความรู้ในเรื่องของการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
2.นักเรียนมีความรู้เรื่อง การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
3 การดูแลสุขภาพตามสุขบัญญัติ10ประการ
4.การล้างมือให้ถูกวิธีโดยการล้างมือ7ขั้นตอน
163
160
15. อบรมทำน้ำหมักชีวภาพ
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมชี้แจงนักเรียนให้ทราบวันเวลาในการเข้ารับการอบรม
2.แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง
3.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์การทำปุ๋ยหมักชีวาภาพ
4.จัดทำกำหนดการ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
5.ให้ความรู้ภาคทฤษฎีการทำปุ๋ยหมักหมักชีวภาพ
6.นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพโดยปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
7.วิทยากร สรุปผลการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนได้รับความรู้จากการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
2.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างดี
3.นักเรียนสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับให้กับผู้ปกครองและบุคคลในชุมชมได้
35
65
16. กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
- แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความสนใจ โดยจัดการเรียนรู้การบูรณาการกับกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใส
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเน้นการปฏิบัติจริงเน้นทักษะกระบวการการทำงานเป็นกลุ่ม
- ประเมินผลงาน ปรับปรุง แก้ไขผลงาน ชื่นชมผลงานเพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้คุณธรรม จริยธรรมที่ดีงาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้ฝึกปฎิบัติจริงในการทำกิจกรรมต่างๆ ทำให้นักเรียนมีความรู้ความ
ุ้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างดี
127
127
17. กิจกรรมการประกวดคำขวัญ
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับการประกวดคำขวัญ
- นักเรียนศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยถูกต้องตามหลักโภชนาการการดูแลสุขภาพ
- ให้นักเรียนแต่งคำขวัญ สุขภาพดีวิถีพอเพียง เพื่อให้เกิดการบูรณาการเรียนรู้การกินดี อยู่ดี
- ตัดสินผลการแข่งขันการประกวดคำขวัญ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามโภชนาการ
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพตามสุขบัญญัติ10 ประการ
- นักเรียนสามารถนำความรู้จากการเรียนไปประยกต์ใช้ชีวิตประจำวันได้
50
50
18. เพาะเห็ดครั้งที่2
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำโครงการพัฒนาชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกิจกรรมเพาะเห็ด
- จัดซื้อก้อนเห็ดนางฟ้าเห็ดภูฐาน
- ให้ความรู้นักเรียนเรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้าเห็ดภูฐาน
- จัดกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบดิจกรรมเพาะเห็ด เช่น การรดน้ำการดูแลโรงเรือนเพาะเห็ดให้สะอาดการเก็บผลผลิต
การจำหน่ายผลผลิต
- เก็บผลผลิต ส่งให้สหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายในโครงการอาหารกลางวัน
- จัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
- โครงการอาหารกลางวันนำเห็ดชนิดต่างๆมาทำอาหารให้นักเรียนบริโภค
- สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมการเพาะเห็ด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับความรู้เรื่องการเพาะเห็ด
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถสร้างเป็นรายได้ให้กับครอบครัว
- ครูและนักเรียนได้รับประทานเห็ดที่มีคุณภาพ ถูกหลักโภชนาการ
- โรงเรียนมีงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมเพาะเห็ด
- นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีมการเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี
30
30
19. จัดซื้ออาหารปลาดุก
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดตั้งนักเรียนรับผิดชอบกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
- จัดทำป้ายไวนิลให้ความรู้เรื่่องการเลี้ยงปลาดุก
- เชิญวิทยากรมาให้ความรู้่เรื่องการเลี้ยงปลาดุกแก่นักเรียน
- บันทึกขั้นตอนการให้อาหารปลาดุกการเปลี่ยนถ่ายน้ำบ่อปลาดุก การจำหน่ายปลาดุกให้โครงการอาหารกลางวัน
- การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
- การแปรรูปอาหารจากปลาดุกการทำปลาดุกตากแห้งฯลฯ
- การสรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนที่รับผิดชอบกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุกมีความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาดุกและนำความรู้ไปประยกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- นักเรียนโเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ มีอาหารที่มีคุณค่าไว้บริโภคในโครงการอาหารกลางวัน
- โรงเรียนมีเงินทุนในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในกิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
- นักเรียนโรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ได้บริโภคอาหารที่มีประโยชน์ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
13
13
20. จัดกิจกรรมชมรม หุ่นสวย วัยใส ห่างไกลความอ้วน
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดตั้งชมรมรม หุ่นสวย วัยใส ห่างไกลความสวยโดยจัดกิจกรรม 3 ประเภทดังนี้1, การเต้นฮูลาฮูป 2. การกระโดดเชือก3. การเต้นแอโรบิก
2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ฮูลาฮูปจำนวน100อัน เชือกกระโดด100 เส้น
3. ครูผู้จัดตั้งชมรม ให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพสำหรับนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน
4. เชิญวิทยากรมาให้ความรู้พร้อมสาธิตการเต้นแอโรบิกให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงทั้งที่โรงเรียนและนำไปประยุกต์ใช้ที่บ้าน
5. ให้นักเรียนออกกำลังกายโดยการเต้นฮูลาฮูปประกอบเพลง กระโดดเชือก และเต้นแอโรบิค
6. จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ฝึกการเต้นฮูลาฮูปในเวลากลางวันเวลาเย็น และการโดดเชือกในเวลากลางวันเวลาเย็น
7. จัดประกวดกิจกรรมประกวดเต้นฮูลาฮูปประกอบเพลงเพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.นักเรียนมีสุขภาพ แข็งแรง สมบูรณ์
2. มีภาวะโรคอ้วนน้อยลง
3. นักเรียนให้ความสนใจกับการออกกำลังกายมากขึ้น
4. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมชมรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
85
85
21. คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ
วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการคืนดอกเบี้ยปิดโครงการ ให้กับ สอส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ ให้กับ สอส. เรียบร้อย
1
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะจากการเรียนรู้จริงในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนและการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และโภชนาการเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการเหมาะสมตามวัย มีการเจริญเติบโตสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักเรียนมีภาวะทางอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นโดยการใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก(SDQ)ของนักเรียน
กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ไม่เกินร้อยละ 5 ในแต่ละชั้นเรียน
มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เป็นประจำทุกเดือน เพื่อตรวจสอบภาวะโภชนาการของนักเรียน
มีการทดสอบสมรรถภาพนักเรียนปีละ 1 ครั้ง
จัดทำข้อมูลสารสนเทศนักเรียนทุกคนโดยแยกประเภทนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการปกติ
นักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาต่อไป
- จัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้แบบประเมิน (SDQ) เพื่อคัดกรองนักเรียน ว่านักเรียนแต่ละคนมีปัญหาด้านใดจะได้ดำเนินแก้ปัญหาให้กับนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
2
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนทุกระดับชั้น
ตัวชี้วัด : 1. มีระบบการคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ ภาวะเริ่มอ้วน - อ้วน และผอมทุกชั้นเรียน
2. มีการจัดรายการอาหารราย 1 เดือน ตามภาวะโภชนาการ (TSL)
3. นักเรียนได้รับอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในมื้อกลางวัน
4. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน - อ้วน และผอมได้รับการดูแลด้านการจัดบริการอาหารให้เหมาะสม
- มีการคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการภาวะโรคอ้วนผอมในทุกชั้นเรียน
- มีการจัดทำระบบสารสนเทศนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโรคอ้วนภาวะทุพโภชนาการ
- จัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนภาวะทุพโภชนาการ
- จัดรายการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch ทุกวัน
- จัดทำตารางการจัดรายการอาหารประจำสัปดาห์
ืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืืื- จัดบริการอาหารให้กับนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนอย่างเหมาะสมถูกต้องตามหลักโภชนาการ
3
3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในการดูแลสุขภาพของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดอาหารที่บ้านโดยเรียนรู้จากการจัดรายการอาหารของโรงเรียนตาม TSL
อย่างน้อยร้อยละ 80
2. จัดสิ่งแวดล้อมทางอาหารให้ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนมีเมนูอาหารที่มีผักและผลไม้ อย่างน้อย 2 รายการต่อวัน
- จัดประชุมผู้ปกครองให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch
-
จัดทำเอกสารเผยแพร่เกี่ยวกับประโยชน์ของการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารฯลฯ
- มีการติดตามผลการจัดรายการเมนูอาหารที่บ้านของผู้ปกครอง
- ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนผู้ปกครองที่มีต่อการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรมThaiSchoolLunch
- จัดสถานที่ให้แก่ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนให้เหมาะสมสะอาดถูกหลักอนามัย
- จัดถังขยะถังคัดแยกขยะไว้ให้แก่ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
- แต่งตั้งคณะกรรมการ กำกับ ติดตามตรวจสอบ ความสะอาด การจำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ประเมินความพึงพอใจเของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนที่มีต่อสถานที่ในการจำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
- ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อสถานที่ในการจำหน่ายอาหารของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
- อบรมให้ความรู้ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนเกี่ยวกับการจำหน่ายผักผลไม้ให้แก่นักเรียน
- แต่งตั้งคณะกรรม กำกับติดตาม ตรวจสอบการจำหน่ายผัก ผลไม้ของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
- ประเมินความพึงพอใจนักเรียนครูผู้ปกครอง ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน ที่มีต่อการจำหน่ายผัก ผลไม้ให้แก่นักเรียน
4
4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และความตื่นตัวของชุมชนในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้าหน้าโรงเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการอาหารและจำหน่ายอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
2. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเทอมละ 1 ครั้งและได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาสม
- จัดอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการอาหาและ การจำหน่ายอาหารที่ถฏหลักโภชนาการให้แก่ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนนักเรียนผู้ปกครอง
- แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับติดตามตรวจสอบการจำหน่ายอาหารของผู้จำหน่ายอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
- ประเมินความพึงพอใจนักเรียนครูผู้ปกครองผู้จำหน่ายอาหาร ที่มีต่อการจำหน่ายอาหารของผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียน
- จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพเทอมละ 1 ครั้ง จากเจ้าหน้าที่อนามัยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีมหาโพธิ์ เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลห้วยพลู
- บันทึกสุขภาพนักเรียน ลงในสมุดบันทึกสุขภาพเป็นปัจจุบัน
- นักเรียนที่มีปัญหาจะได้รับการช่วยเหลือแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะจากการเรียนรู้จริงในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนและการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และโภชนาการเหมาะสมตามวัย (2) 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนทุกระดับชั้น (3) 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในการดูแลสุขภาพของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) 4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และความตื่นตัวของชุมชนในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์
รหัสโครงการ ศรร.1213-034 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.3 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
กิจกรรมยุวเกษตรกร
จัดแต่งตั้งกลุ่มยุวเกษตรกร
พัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร
เน้นการทำการเกษตรลงสู่บ้านนักเรียนและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
โครงการต้นกล้าการออม
- การดำเนินงานสหกรณ์ออมทรัพย์นักเรียน
- สมุดฝากเงินสหกรณ์ออมทรพย์นักเรียน
-การดำเนินงานสหกรณ์ ออมทรัพย์อย่างเต็มรูปแบบต่อเนื่องยั่งยืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
โครงการ อย.น้อยพิทักษ์สุขภาพ
- ดำเนินการเรื่องการตรวจสารพิษที่่เจือปนในอาหารภายในโรงเรียนชุมชน เพื่อความปลอดภัยในการบริโภคอาหารของนักเรียน
ให้นักเรียนร้อยละ 80
ได้ลงมือปฏิบัติการตรวจสารพิษในอาหารเพื่อใช้เป็นแนวทางให้การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรม หุ่นสวย.. วัยใส..ห่างไกลความอ้วน
- ดำเนินการแก้ปัญหานักเรียนที่ภาวะโรคอ้วนด้วยกิจกรรมครบเครื่องเรื่องกีฬา ฮูลาฮูป ฯลฯ
ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นระบบเพื่่อลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนลดลงร้อยละ 7
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมทันตสุขภาพนักเรียน
- การแปรงฟันอย่างถูกวิธี
- การตรวจฟันประจำปี
- การเคลือบหลุมร่องฟัน
- การเคลือบน้ำยาฟลูออไรด์
- พัฒนานักเรียนร้อยละ 100
อย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
กิจกรรมการจัดส่งเสริมให้ทำน้ำยา
ล้างจาน น้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ
น้้ำหมักชีวภาพ
- ให้นักเรียนเรียนรู้การทำน้ำยา ล้างจานน้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ
น้ำหมักชีวภาพ
ให้นักเรียนร้อยละ 80 ได้ลงมือปฏิบัติการทำน้ำยาล้างจานน้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ น้ำหมักชีวภาพเพื่อให้นักเรียนสามารถทำไว้ใช้ที่บ้านได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ จังหวัด นครปฐม
รหัสโครงการ ศรร.1213-034
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพยนต์ นาคธรรมขันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ ”
ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
หัวหน้าโครงการ
นายพยนต์ นาคธรรมขันธ์
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จังหวัด นครปฐม
รหัสโครงการ ศรร.1213-034 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ก.3
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ จังหวัดนครปฐม" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศรีมหาโพธิ์ อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม รหัสโครงการ ศรร.1213-034 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 463 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียนโดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็น การพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คนและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะจากการเรียนรู้จริงในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนและการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และโภชนาการเหมาะสมตามวัย
- 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนทุกระดับชั้น
- 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในการดูแลสุขภาพของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- 4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และความตื่นตัวของชุมชนในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพลโภชนาการ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนม่ส่วนร่วม ในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหารมีความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- โรงเรียน บ้าน และชุมชนเกิดกระแสตื่นตัว ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมผู้ปกครองนักเรียนนักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำได้ชี้แจงความเป็นมาของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและทำความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมของโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองนักเรียนได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมของโครงการ
|
159 | 119 |
2. จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก |
||
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 12:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนร่วมกันปลูกถั่วฝักยาว ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า ต้นมะเขือ ต้นมะเขือเทศ ต้นพริกขี้หนู ต้นกะเพรา ตะไคร้
|
245 | 245 |
3. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
55 | 55 |
4. ออกกำลังกาย |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดซื้อฮูลาฮุก จำนวน 100 อัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ ให้ความสนใจและสนุกกับการร่วมกิจกรรมนี้เป็นอย่างมาก
|
449 | 0 |
5. ซื้อก้อนเชื้อเห็ด ครั้งที่1 |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดซื้อก้อนเห็ด 2.ดูแลรักษา เช่น การรดน้ำ การดูแลโรงเห็ดให้สะอาด 3.เก็บผลผลิต ส่งให้สหกรณ์โรงเรียนเพื่อจำหน่ายในโครงการอาหารกลางวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผลผลิตและนำไปส่งให้กับสหกรณ์โรงเรียนจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน เพื่อนำไปประกอบอาหาร
|
12 | 12 |
6. โครงการพัฒนาการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 5 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
37 | 37 |
7. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการอาหาร |
||
วันที่ 27 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
143 | 143 |
8. จัดกิจกรรมประกวดทำอาหารเพื่อสุขภาพ |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 20 |
9. จัดทำป้ายไวนิล |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสนใจรับประทานผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพมากขึ้น
|
449 | 449 |
10. จัดอบรมนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วน |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง น้ำหนักลดลง นักเรียนมีสุขภาพจิตที่ดี นักเรียนมีความมั่นใจกล้าแสดงออก
|
75 | 75 |
11. จัดซื้อลูกปลาดุก |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
11 | 11 |
12. จัดซื้อสารทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร |
||
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับสมัครนักเรียนที่มีความสนใจ การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 2.ให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร 3. ครูสาธิตการตรวจสอบปนเปื้อนในอาหารสดอาหารแห้ง 4. ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารจากผลผลิตในโรงครัว 5.นักเรียนสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหารในร้านค้าในชุมชนตลาดนัด 6 สรุปผลการดำเนินงานการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้รับความรู้ เกี่ยวกับการตรวจสอบปนเปื้อนในอาหาร 2. นักเรียนโรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย ไร้สารพิษ
|
18 | 18 |
13. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตนเองเบื้องต้น 2.โรงเรียนมีห้องพยาบาลที่สุขอนามัยไว้บริการนักเรียน 3.โรงเรียนมียาสามัญประจำบ้านไว้บริการนักเรียน 4.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
449 | 449 |
14. การพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้ความรู้ในเรื่องของการพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
2.นักเรียนมีความรู้เรื่อง การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
|
163 | 160 |
15. อบรมทำน้ำหมักชีวภาพ |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมชี้แจงนักเรียนให้ทราบวันเวลาในการเข้ารับการอบรม 2.แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเพื่อให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง 3.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์การทำปุ๋ยหมักชีวาภาพ 4.จัดทำกำหนดการ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ 5.ให้ความรู้ภาคทฤษฎีการทำปุ๋ยหมักหมักชีวภาพ 6.นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพโดยปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม 7.วิทยากร สรุปผลการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนได้รับความรู้จากการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ 2.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างดี 3.นักเรียนสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับให้กับผู้ปกครองและบุคคลในชุมชมได้
|
35 | 65 |
16. กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้ฝึกปฎิบัติจริงในการทำกิจกรรมต่างๆ ทำให้นักเรียนมีความรู้ความ ุ้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างดี
|
127 | 127 |
17. กิจกรรมการประกวดคำขวัญ |
||
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 50 |
18. เพาะเห็ดครั้งที่2 |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
30 | 30 |
19. จัดซื้ออาหารปลาดุก |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
13 | 13 |
20. จัดกิจกรรมชมรม หุ่นสวย วัยใส ห่างไกลความอ้วน |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดตั้งชมรมรม หุ่นสวย วัยใส ห่างไกลความสวยโดยจัดกิจกรรม 3 ประเภทดังนี้1, การเต้นฮูลาฮูป 2. การกระโดดเชือก3. การเต้นแอโรบิก
2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ฮูลาฮูปจำนวน100อัน เชือกกระโดด100 เส้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.นักเรียนมีสุขภาพ แข็งแรง สมบูรณ์
|
85 | 85 |
21. คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ |
||
วันที่ 6 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการคืนดอกเบี้ยปิดโครงการ ให้กับ สอส. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ยปิดโครงการ ให้กับ สอส. เรียบร้อย
|
1 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะจากการเรียนรู้จริงในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนและการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และโภชนาการเหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการเหมาะสมตามวัย มีการเจริญเติบโตสมส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. นักเรียนมีภาวะทางอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้นโดยการใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก(SDQ)ของนักเรียน กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ไม่เกินร้อยละ 5 ในแต่ละชั้นเรียน |
|
|||
2 | 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนทุกระดับชั้น ตัวชี้วัด : 1. มีระบบการคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ ภาวะเริ่มอ้วน - อ้วน และผอมทุกชั้นเรียน 2. มีการจัดรายการอาหารราย 1 เดือน ตามภาวะโภชนาการ (TSL) 3. นักเรียนได้รับอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของมาตรฐานโภชนาการในมื้อกลางวัน 4. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน - อ้วน และผอมได้รับการดูแลด้านการจัดบริการอาหารให้เหมาะสม |
|
|||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในการดูแลสุขภาพของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดอาหารที่บ้านโดยเรียนรู้จากการจัดรายการอาหารของโรงเรียนตาม TSL อย่างน้อยร้อยละ 80 2. จัดสิ่งแวดล้อมทางอาหารให้ผู้จำหน่ายอาหารหน้าโรงเรียนมีเมนูอาหารที่มีผักและผลไม้ อย่างน้อย 2 รายการต่อวัน |
|
|||
4 | 4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และความตื่นตัวของชุมชนในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้าหน้าโรงเรียนมีความรู้ด้านโภชนาการอาหารและจำหน่ายอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ 2. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเทอมละ 1 ครั้งและได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาสม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะจากการเรียนรู้จริงในกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียนและการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และโภชนาการเหมาะสมตามวัย (2) 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนทุกระดับชั้น (3) 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน ในการดูแลสุขภาพของนักเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพ และสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) 4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และความตื่นตัวของชุมชนในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์
รหัสโครงการ ศรร.1213-034 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.3 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
กิจกรรมยุวเกษตรกร
จัดแต่งตั้งกลุ่มยุวเกษตรกร
พัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร
เน้นการทำการเกษตรลงสู่บ้านนักเรียนและชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
โครงการต้นกล้าการออม
- การดำเนินงานสหกรณ์ออมทรัพย์นักเรียน
- สมุดฝากเงินสหกรณ์ออมทรพย์นักเรียน
-การดำเนินงานสหกรณ์ ออมทรัพย์อย่างเต็มรูปแบบต่อเนื่องยั่งยืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
โครงการ อย.น้อยพิทักษ์สุขภาพ
- ดำเนินการเรื่องการตรวจสารพิษที่่เจือปนในอาหารภายในโรงเรียนชุมชน เพื่อความปลอดภัยในการบริโภคอาหารของนักเรียน
ให้นักเรียนร้อยละ 80
ได้ลงมือปฏิบัติการตรวจสารพิษในอาหารเพื่อใช้เป็นแนวทางให้การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรม หุ่นสวย.. วัยใส..ห่างไกลความอ้วน
- ดำเนินการแก้ปัญหานักเรียนที่ภาวะโรคอ้วนด้วยกิจกรรมครบเครื่องเรื่องกีฬา ฮูลาฮูป ฯลฯ
ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นระบบเพื่่อลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนลดลงร้อยละ 7
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมทันตสุขภาพนักเรียน
- การแปรงฟันอย่างถูกวิธี
- การตรวจฟันประจำปี
- การเคลือบหลุมร่องฟัน
- การเคลือบน้ำยาฟลูออไรด์
- พัฒนานักเรียนร้อยละ 100
อย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
กิจกรรมการจัดส่งเสริมให้ทำน้ำยา
ล้างจาน น้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ
น้้ำหมักชีวภาพ
- ให้นักเรียนเรียนรู้การทำน้ำยา ล้างจานน้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ
น้ำหมักชีวภาพ
ให้นักเรียนร้อยละ 80 ได้ลงมือปฏิบัติการทำน้ำยาล้างจานน้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ น้ำหมักชีวภาพเพื่อให้นักเรียนสามารถทำไว้ใช้ที่บ้านได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์
รหัสโครงการ ศรร.1213-034 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.3 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | กิจกรรมยุวเกษตรกร |
จัดแต่งตั้งกลุ่มยุวเกษตรกร |
พัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร เน้นการทำการเกษตรลงสู่บ้านนักเรียนและชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | โครงการต้นกล้าการออม |
|
-การดำเนินงานสหกรณ์ ออมทรัพย์อย่างเต็มรูปแบบต่อเนื่องยั่งยืน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | โครงการ อย.น้อยพิทักษ์สุขภาพ |
|
ให้นักเรียนร้อยละ 80 ได้ลงมือปฏิบัติการตรวจสารพิษในอาหารเพื่อใช้เป็นแนวทางให้การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | กิจกรรม หุ่นสวย.. วัยใส..ห่างไกลความอ้วน |
|
ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นระบบเพื่่อลดจำนวนนักเรียนที่มีภาวะโรคอ้วนลดลงร้อยละ 7 |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | กิจกรรมทันตสุขภาพนักเรียน |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | กิจกรรมการจัดส่งเสริมให้ทำน้ำยา
ล้างจาน น้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ |
|
ให้นักเรียนร้อยละ 80 ได้ลงมือปฏิบัติการทำน้ำยาล้างจานน้ำยาทำความสะอาดห้องน้ำ น้ำหมักชีวภาพเพื่อให้นักเรียนสามารถทำไว้ใช้ที่บ้านได้ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนวัดศรีมหาโพธิ์ จังหวัด นครปฐม
รหัสโครงการ ศรร.1213-034
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพยนต์ นาคธรรมขันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......