แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านกาดฮาว ”
ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
หัวหน้าโครงการ
นายภาณุพงศ์ ประพันธ์
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านกาดฮาว
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกาดฮาว
ที่อยู่ ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1111-001 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านกาดฮาว จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านกาดฮาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านกาดฮาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านกาดฮาว " ดำเนินการในพื้นที่ ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ รหัสโครงการ ศรร.1111-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านกาดฮาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 211 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียนซึ่งในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) โรงเรียนบ้านกาดฮาวได้เข้าร่วมและดำเนินการประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง จากการประเมินภาวะโภชนาการพบว่า นักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.10 เตี้ยร้อยละ 3.23 และผอมร้อยละ 3.23ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กได้ หนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ 1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ เด็กบางคนยังกินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวัน นอกจากนี้ยังพบว่าเสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
ดังนั้น โรงเรียนบ้านกาดฮาวจึงได้เสนอแผนการพัฒนาของโรงเรียนร่วมกับชุมชน เพื่อต่อยอดการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสจากปีที่ 1 โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนาโรงเรียนบ้านกาดฮาวให้เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชนให้มีคุณภาพในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ
- เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษเพียงพอต่ออาหารกลางวันของนักเรียน
- มีแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน
- โรงเรียนบ้านกาดฮาวเป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ซ่อมแซมปรับปรุงโครงปลูกเสาวรสและซื้อพันธ์ุเสาวรส โดยการทำซุ้มเสาวรส เพื่อให้ร่มเงาและทำน้ำเสาวรสให้นักเรียนได้รับประทานโดยการทำซุ้มเสาวรส โดยบรเวณรอบๆต้นเสาวรสจะปลูกผักปลอดสารพิษ
2. ปลูกเสาวรส
3. นักเรียนทำน้ำเสาวรสส่งขายผ่านสหกรณ์นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์
- นักเรียนสามารถปลูกและดูแลต้นเสาวรสให้ออกผลได้
- นักเรียนทำน้ำเสาวรสส่งขายผ่านสหกรณ์ได้
136
175
2. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ปรับปรุงโรงเพาะเห็ด
- เพาะเห็ดนางฟ้าส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียน
- นำเห็ดนางฟ้ามาทำอาหารกลางวันให้นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์
- นักเรียนมีทักษะในการเพาะและขายเห็ด
- นักเรียนได้รับประทานเห็ดนางฟ้าที่ปลอดสารพิษ
136
152
3. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียน เพิ่ม4 ฐาน
1.ปรับปรุงซ่อมแซมโครงปลูกผักไม้เลื้อย
2.ปรับปรุงซ่อมแซมโรงผักไฮโดโปรนิคส์
3.ปรับปรุงซ่อมแซมโรงเรือนเลี้ยงไส้เดือนซื้อพันธฺุ์ไส้เดือน
4.ดำเนินกิจกรรม ฐานที่ 1 ปลูกผักส่งรักเพิ่มปริมาณการปลูกผักให้มากขึ้นโดยแบ่งเป็นปลูกผักในแปลงพื้นดินและในกระถางและปลูกผักหลากหลายชนิดสลับ หมุนเวียนกันไป เช่น ผักกาดกวางตุ้งผักบุ้ง กะหล่ำปลีกะหล่ำดอก ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตาต้นหอมผักชี และปลูก การผักไฮโดโปนิค เช่นผักสลัด กรีนคอส เรดคอส ผักกาดกวางตุ้งอีกทั้งมีการปลูกผักแบบซุ้มพันธุ์ไม้เลื้อย เช่นถั่วพูบวบผักเชียงดาน้ำเต้าแตงกวา ถั่วลันเตาและยัง มีการเพาะเลี้ยงไส้เดือนเพื่อทำปุ๋ยให้กับผักที่ปลูก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก
- มีแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
- นักเรียนได้ความรู้และมีทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษผ่านโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
136
152
4. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ปรับปรุงซ่อมแซมโรงเลี้ยงกบ
- ส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียนส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียน
- นำกบที่เลี้ยงมาทำอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ฐานการเรียนรู่สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ
- นักเรียนได้บริโภคกบที่ตนเองเลี้ยง
136
136
5. กิจกรรมการจัดบริการอาหาร
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 11:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
2.ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนและบอกสารอาหารของแต่ละเมนู
2.นักเรียนตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
135
135
6. ประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อชี้แจงโครงการ
วันที่ 19 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดเตรียมเอกสารต่างๆ เช่น หนังสือเชิญประชุม / เอกสารประชุม /อาหารว่าง
- กำหนดวาระการประชุม
- จัดประชุมตามหัวข้อ
- สอบถามความเห็น
- นำผลการประชุมไปปฏิบัติ
ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสให้กับคณะครูและคณะกรรมการสถานศึกษาพร้อมด้วยตัวแทนคณะกรรมการนักเรียน ให้รับทราบ ถึงรายละเอียดของกิจกรรมต่างๆของโครงการ พร้อมทั้งแบ่งหน้าที่ให้กับคณะครูรับผิดชอบกิจกรรมต่างๆ ขอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในกิจกรรมต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและให้ข้อเสนอแนะให้ชุมชนมีส่วนร่วมกับโรงเรียน และโรงเรียนมีส่วนร่วมกับชุมชน คณะครูเข้าใจและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการประชุมครั้งนี้
21
24
7. การติดตามภาวะโภชนาการ
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำฐานข้อมมูลนำ้หนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนของนักเรียนทุกคนและแปรภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม ติดตามนักเรียนกลุ่มเสี่ยง
กิจกรรมแรลลี่ลดพุง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- โรงเรียนมีฐานมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและดูแลภาวะสุขภาพและมีการนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม
- นักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม
155
154
8. จัดกิจกรรมสหกรณ์ในรูปแบบร้านค้าเพื่อส่งเสริมการขายผลผลิตทางการเกษตรจำหน่ายสินค้าคุณภาพและสินค้าที่ที่เอื้อต่อโครงการอาหารกลางวัน
วันที่ 24 พฤษภาคม 2559 เวลา 11:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.รับสมัครสมาชิกสหกรณ์เพิ่ม
2.คัดเลือกเจ้าหน้าที่สหกรณ์
3.ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
4.จัดซื้อสินค้าและผักของโรงเรียน
5.จัดทำบัญชีต่างๆ
6.จัดนิทรรศการสหกรณ์นักเรียนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ
7.จัดการเรียนรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดการสหกรณ์นักเรียนเป็นระบบดีขึ้นมีการแต่งตั้งประธาน รองประธาน เหรัญญิก และคณะกรรมการดำเนินการ ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในการดำเนินงานสหกรณ์ดีขึ้น มีคณะครู นักเรียน และแม่ครัวสมัครเป็นสมาชิกและอุดหนุนสินค้าของสหกรณ์นักเรียน มีการจำหน่ายอุปกรณ์เครื่องเขียน อุปกรณ์แปรงฟัน อุปกรณ์ลูกเสือ เครื่องปรุงในการประกอบอาหารของแม่ครัว และผัก เห็ด กบ และผลิตของโรงเรียนไว้จำหน่าย มีการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับนักเรียนทุกชั้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยกับสหกรณ์นักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน และนำกิจกรรมการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียนไปร่วมจัดนิทรรศการ ร่วมกับโรงเรียนและหน่วยงานอื่น
135
155
9. ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษ
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำโครงปลูกเสาวรส และซื้อพันธุ์เสาวรส วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 5,000 บาท
2.จัดทำจัดทำโครงปลูกผักไม้เลื้อย วันที่ 6 มิถุนายน - 15 มิถุนายน งบประมาณ 5,000 บาท
3.ปรับปรุงโรงเลี้ยงกบ วันที่ 13 มิถุนายน - 22 มิถุนายน งบประมาณ 4,000 บาท
4.ปรับปรุงโรงเรีอนเพาะเห็ด วันที่ 16 มิถุนายน - 24 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 4,000 บาท
5.จัดทำโรงเรือนปลูกผีกไฮโดรโพนิคส์ วันที่ 20 มิถุนายน - 30 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 3,000 บาท และซื้ออุปกรณ์เพาะเมล็ด - เมล็ดผักไฮโดโปรนิกส์ งบประมาณ 2,000 บาท
6.จัดทำโรงเรือนเพาะเลี้ยงไส้เดือนและซื้อพันธุ์ไส้เดือน วันที่ 23 มิถุนายน - 30 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 4,500 บาท
7.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ดูแลพืชผัก ปุ๋ยและอาหารกบ 7,500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์ให้นักเรียนและผู้ที่สนใจได้ศึกษาเรียนรู้
2.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก
3.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ
4.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์
5.ได้ฐานการเรียนรู้ผักไฮโดรโพนิคส์
6.ได้ฐานการเรียนรู้การเพาะเลี้ยงไส้เดือน
นักเรียนทุกชั้นเรียนจะเรียนรู้จนครบทุกฐานหมุนเวียนกันไป และสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฎิบัติต่อที่บ้านได้ และสามารถนำเสนอความรู้ให้กับบุคลากรหรือหน่วยงานที่มาศึกษาดูงานที่โรงเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว
136
162
10. กิจกรรมพัฒนาอนามัยสื่งแวดล้อมในโรงเรียน
วันที่ 8 มิถุนายน 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน
- พัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
- กิจกรรม Big CleaningDay ร่วมกับผู้ปกครอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองและรู้ทันโรคที่เกิดขึ้นในฤดูฝน เช่นไข้เลือดออกโรคตาแดง โรคมือ ปากเท้า
- สามารถป้องกันตนเองและนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับที่บ้านและชุมชน
- โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมสะอาดเหมาะแก่การเป็นศูนย์เรียนรู้โดยความร่วมมือของผู้ปกครองนักเรียน และครูช่วยกันทำความสะอาดโรงเรียน
216
225
11. ประชุมติดตามการดำเนินงานระยะที่ 1 ,2,3
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดเตรียมเอกสารสรุปงานระยะที่ 1,2,3 / วาระการประชุม /อาหารว่างอาหารกลางวัน สรุปงาน ระยะที่ 1,2,3
- ประชุมติดตามการดำเนินงานระยะที่ 1 ,2,3
- บันทึก / แก้ไข / ปรับปรุงปัญหาที่เกิดขึ้น
- รายงานสรุป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากที่ประชุม
- ได้นำข้อมูลและข้อเสนอแนะมาปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้ดีขึ้น
20
21
12. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน
- จัดการประชุมเสนอโครงการต่อผู้ปกครองรับสมัครสมาชิกที่สนใจ
- อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกที่สนใจในการปลูกผัก พร้อมทั้ง แจกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อนำไป
ขยายผลต่อไป
- นำผู้ปกครอง นักเรียนศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้เกษตรแม่เหี๊ยะ
- ผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้รับมาปลูกผักปลอดสารพิษในบริเวณบ้านที่อยู่อาศัยของตนเอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ปกครองและนักเรียนได้ความรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษกินเองในบ้านและเผยแพร่สู่ชุมชน
- โรงเรียนมีสื่อ นวัตกรรม หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สารพัดผัก ครบเครื่องเรื่องกบ ฯลฯ
- ผู้ปกครองปลูกผักปลอดสารพิษ และบริโภคผักปลอดสารพิษที่ตนเองปลูก
143
186
13. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ฐานการเรียนรู้ต่างๆ และไวนิล ศึกษาอบรมความรู้เรื่องเสาวรสและผักจากปราชญ์ชาวบ้านจัดกิจกรรมเริงร่าหลากหลายเมนูผักหรรษาของนักเรียนชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่ 6 และจัดการประกวดกิจกรรมเริงร่าหลากหลายเมนูผักหรรษา(สัปดาห์กินผัก)ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับความรู้และเกิดความสนุกสนานในการทำกิจกรรม
- นักเรียนทุกคนได้ลงมือปฏิบัติในการทำอาหารเมนูผักและรับประทานอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบเพื่อฝึกนิสัยในการรับประทานผักต่อไป
127
136
14. กิจกรรมการจัดบริการสุขภาพนักเรียน
วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ออกเยี่ยมบ้านนักเรียน และนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภคอาหารในครัวเรือนพร้อมทั้งให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการบริโภคแก่ผู้ปกครองและนักเรียน บันทึกน้ำหนักส่วนสูงและการบริโภคอาหารนักเรียนทุกวันเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ปกครองและครูได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและนำความรู้ที่ได้รับมาปรับ และดูแลนักเรียนทั้งที่บ้านและโรงเรียน
- นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้น
221
225
15. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ให้ กับ สสส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
3
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
พัฒนาโรงเรียนบ้านกาดฮาวให้เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัด : โรงเรียนบ้านกาดฮาวเป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
มาตรฐานที่ 1 : การบริหารจัดการสู่การเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 =24
มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำนเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
องค์ประกอบที่ 1 : เกษตรในโรงเรียน
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1 =8
องค์ประกอบที่ 2 : สหกรณ์นักเรียน
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2 =4
องค์ประกอบที่ 3 : การจัดบริการอาหารนักเรียน
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 3 =15
องค์ประกอบที่ 4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 4 =4
องค์ประกอบที่ 5 : การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 5 =4
องค์ประกอบที่ 6 : การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 6 =4
องค์ประกอบที่ 7 : การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 7 =4
องค์ประกอบที่ 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ
รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 8 =12รวม 55
มาตรฐานที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโรงเรียน
ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
ก. ด้านความรู้
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ก. ด้านความรู้=12
ข. ด้านทักษะ
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ข. ด้านทักษะ=12
ผลลัพธ์
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์=12
ก. ด้านโภชนาการ
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ก. ด้านโภชนาการ=12
ข. ด้านสุขภาพ
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ข. ด้านสุขภาพ=20
ค. ด้านผลการเรียน
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ค. ด้านผลการเรียน=8
ง. ด้านจิตสาธารณะ
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ง. ด้านจิตสาธารณะ=4
รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 =80
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชนให้มีคุณภาพในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับอาหารที่เหมาะสมและมีคุณภาพตามช่วงวัย จากการใช้โปรแกรม Thai School Lunch
มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนและบอกสารอาหารของแต่ละเมนู 2.นักเรียนตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
3
เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียน เพิ่ม 4 ฐานได้แก่
ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก
ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์
ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์
ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ
และนักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองและรู้ทันโรคที่เกิดขึ้นในฤดูฝน เช่นไข้เลือดออกโรคตาแดง โรคมือ ปากเท้า สามารถป้องกันตนเองและนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับที่บ้านและชุมชน
โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมสะอาดเหมาะแก่การเป็นศูนย์เรียนรู้โดยความร่วมมือของผู้ปกครองนักเรียน และครูช่วยกันทำความสะอาดโรงเรียน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาโรงเรียนบ้านกาดฮาวให้เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชนให้มีคุณภาพในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ (3) เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกาดฮาว
รหัสโครงการ ศรร.1111-001 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.01 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ได้หลักสูตรท้องถิ่น 4 เรื่อง ดังนี้
- ปลูกผักส่งรัก (มีข้อมูลการปลูกผักปลอดสารพิษ เช่น บทบาทของไส้เดือนกับการปลูกผัก / การใช้ EM กับการปลูกผักปลอดสารพิษ /การใช้กับดักแมลงในการปลูกผัก
- เสาวรสมากประโยชน์
- นางฟ้าตกสวรรค์
- ครบเครื่องเรื่องกบ
- จัดทำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
- จัดทำคำอธิบายรายวิชา
- จัดทำโครงสร้างหลักสูตร
- เตรียมสื่อการสอน
- จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
- ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผน
- ประเมินผล (ทดสอบ)
- ขยายเพิ่มเติมแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษทั้งผักและสัตว์ (ไก่ไข่)
- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่นักเรียนและชุมชนให้มากยิ่งขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
จัดกิจกรรมการเรียนรู้สหกรณ์
- ระดมทุน สมัครสมาชิกสหกรณ์
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้สหกรณ์
- จัดกิจกรรมสหกรณ์ในรูปแบบร้านค้าเพื่อส่งเสริมการขายผลผลิตทางการเกษตรและจำหน่ายสินค้าคุณภาพและสินค้าที่เอื้อต่อโครงการอาหารกลางวัน
- ขยายเนื้อที่ร้านค้าสหกรณ์นักเรียน
- ระดมทุนให้เพิ่มขึ้น
- เพิ่มสินค้าในร้านสหกรณ์
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน โดยผู้นำนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ
- อบรมนักเรียนผู้รับผิดชอบในการลงข้อมูล รายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch
- ผู้รับผิดชอบจัดทำรายการอาหารกลางวัน
- เสนอรายการอาหารกลางวันต่อครูผู้รับผิดชอบเพื่อครวจสอย
- ลงรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
- นำรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อไปให้แม่ครัว
- ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
- สำรวจความพึงพอใจ
ขยายผลการโปรแกรม Thai School Lunch ไปยังโรงเรียนอื่นๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรมแรลลี่ลดพุง
- จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม
- แก้ปัญหาเด็กอ้วนโดยกิจกรรมแรลลี่ลดพุง โดยนักเรียนกลุ่มเสี่ยงออกกำลังกาย (ตะลุย 9 ด่าน พิชิตโรค) / ควบคุมการรับประทานอาหาร โดยให้นักเรียนบันทึกรายการอาหารและขนมที่รับประทานในแต่ละวัน ส่งให้เจ้าหน้าที่และครูตรวจสอบว่าควรรับประทานหรือไม่ เพราะเหตุใด
- ออกเยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสื่ยง เพื่อรู้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน ขณะที่อยู่ที่บ้าน พร้อมทั้งให้ความรู้และขอความร่วมมือจากผู้ปกครองนักเรียนในการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนแค่ละคน
- ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
ลดจำนวนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมเรือนนี้มีรักปลูกผักปลอดสารพิษ
- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน
- จัดการประชุมเสนอโครงการต่อผู้ปกครองรับสมัตรสมาชิกที่สนใจ
- ประชุม / อบรมสมาชิกที่สนใจในการปลูกผัก / แจกเมล็ดพันธุ์
- นำคณะศึกษาดูงาน
- จัดประกวด “เรือนนี้มีรักปลูกผักปลอดสารพิษ”
- จัดประกวด สร้างสรรเมนูผั
ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษไปยังครัวเรือนอื่นๆเพิ่มขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่สะอาด ปลอดภัย และเป็นศูนย์การเรียนรู้ได้
- จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน
- พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัย
เช่น น้ำดื่มที่สะอาด / ที่ล้างมือ / ห้องส้วม / การจัดการขยะ
ดำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านกาดฮาว จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1111-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายภาณุพงศ์ ประพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านกาดฮาว ”
ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
หัวหน้าโครงการ
นายภาณุพงศ์ ประพันธ์
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1111-001 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านกาดฮาว จังหวัดเชียงใหม่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านกาดฮาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านกาดฮาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านกาดฮาว " ดำเนินการในพื้นที่ ม.4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ รหัสโครงการ ศรร.1111-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านกาดฮาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 211 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียนซึ่งในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) โรงเรียนบ้านกาดฮาวได้เข้าร่วมและดำเนินการประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง จากการประเมินภาวะโภชนาการพบว่า นักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.10 เตี้ยร้อยละ 3.23 และผอมร้อยละ 3.23ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กได้ หนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ 1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ เด็กบางคนยังกินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวัน นอกจากนี้ยังพบว่าเสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
ดังนั้น โรงเรียนบ้านกาดฮาวจึงได้เสนอแผนการพัฒนาของโรงเรียนร่วมกับชุมชน เพื่อต่อยอดการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสจากปีที่ 1 โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนาโรงเรียนบ้านกาดฮาวให้เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชนให้มีคุณภาพในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ
- เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษเพียงพอต่ออาหารกลางวันของนักเรียน
- มีแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับผักปลอดสารพิษในโรงเรียนและชุมชน
- โรงเรียนบ้านกาดฮาวเป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์ |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ซ่อมแซมปรับปรุงโครงปลูกเสาวรสและซื้อพันธ์ุเสาวรส โดยการทำซุ้มเสาวรส เพื่อให้ร่มเงาและทำน้ำเสาวรสให้นักเรียนได้รับประทานโดยการทำซุ้มเสาวรส โดยบรเวณรอบๆต้นเสาวรสจะปลูกผักปลอดสารพิษ 2. ปลูกเสาวรส 3. นักเรียนทำน้ำเสาวรสส่งขายผ่านสหกรณ์นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
136 | 175 |
2. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์ |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
136 | 152 |
3. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียน เพิ่ม4 ฐาน 1.ปรับปรุงซ่อมแซมโครงปลูกผักไม้เลื้อย 2.ปรับปรุงซ่อมแซมโรงผักไฮโดโปรนิคส์ 3.ปรับปรุงซ่อมแซมโรงเรือนเลี้ยงไส้เดือนซื้อพันธฺุ์ไส้เดือน 4.ดำเนินกิจกรรม ฐานที่ 1 ปลูกผักส่งรักเพิ่มปริมาณการปลูกผักให้มากขึ้นโดยแบ่งเป็นปลูกผักในแปลงพื้นดินและในกระถางและปลูกผักหลากหลายชนิดสลับ หมุนเวียนกันไป เช่น ผักกาดกวางตุ้งผักบุ้ง กะหล่ำปลีกะหล่ำดอก ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตาต้นหอมผักชี และปลูก การผักไฮโดโปนิค เช่นผักสลัด กรีนคอส เรดคอส ผักกาดกวางตุ้งอีกทั้งมีการปลูกผักแบบซุ้มพันธุ์ไม้เลื้อย เช่นถั่วพูบวบผักเชียงดาน้ำเต้าแตงกวา ถั่วลันเตาและยัง มีการเพาะเลี้ยงไส้เดือนเพื่อทำปุ๋ยให้กับผักที่ปลูก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
136 | 152 |
4. ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
136 | 136 |
5. กิจกรรมการจัดบริการอาหาร |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 11:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2.ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนและบอกสารอาหารของแต่ละเมนู 2.นักเรียนตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
|
135 | 135 |
6. ประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อชี้แจงโครงการ |
||
วันที่ 19 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและให้ข้อเสนอแนะให้ชุมชนมีส่วนร่วมกับโรงเรียน และโรงเรียนมีส่วนร่วมกับชุมชน คณะครูเข้าใจและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการประชุมครั้งนี้
|
21 | 24 |
7. การติดตามภาวะโภชนาการ |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำฐานข้อมมูลนำ้หนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนของนักเรียนทุกคนและแปรภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม ติดตามนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
155 | 154 |
8. จัดกิจกรรมสหกรณ์ในรูปแบบร้านค้าเพื่อส่งเสริมการขายผลผลิตทางการเกษตรจำหน่ายสินค้าคุณภาพและสินค้าที่ที่เอื้อต่อโครงการอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2559 เวลา 11:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.รับสมัครสมาชิกสหกรณ์เพิ่ม 2.คัดเลือกเจ้าหน้าที่สหกรณ์ 3.ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 4.จัดซื้อสินค้าและผักของโรงเรียน 5.จัดทำบัญชีต่างๆ 6.จัดนิทรรศการสหกรณ์นักเรียนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ 7.จัดการเรียนรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดการสหกรณ์นักเรียนเป็นระบบดีขึ้นมีการแต่งตั้งประธาน รองประธาน เหรัญญิก และคณะกรรมการดำเนินการ ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในการดำเนินงานสหกรณ์ดีขึ้น มีคณะครู นักเรียน และแม่ครัวสมัครเป็นสมาชิกและอุดหนุนสินค้าของสหกรณ์นักเรียน มีการจำหน่ายอุปกรณ์เครื่องเขียน อุปกรณ์แปรงฟัน อุปกรณ์ลูกเสือ เครื่องปรุงในการประกอบอาหารของแม่ครัว และผัก เห็ด กบ และผลิตของโรงเรียนไว้จำหน่าย มีการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับนักเรียนทุกชั้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยกับสหกรณ์นักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน และนำกิจกรรมการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียนไปร่วมจัดนิทรรศการ ร่วมกับโรงเรียนและหน่วยงานอื่น
|
135 | 155 |
9. ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำโครงปลูกเสาวรส และซื้อพันธุ์เสาวรส วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 5,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์ให้นักเรียนและผู้ที่สนใจได้ศึกษาเรียนรู้ 2.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก 3.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ 4.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์ 5.ได้ฐานการเรียนรู้ผักไฮโดรโพนิคส์ 6.ได้ฐานการเรียนรู้การเพาะเลี้ยงไส้เดือน นักเรียนทุกชั้นเรียนจะเรียนรู้จนครบทุกฐานหมุนเวียนกันไป และสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฎิบัติต่อที่บ้านได้ และสามารถนำเสนอความรู้ให้กับบุคลากรหรือหน่วยงานที่มาศึกษาดูงานที่โรงเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว
|
136 | 162 |
10. กิจกรรมพัฒนาอนามัยสื่งแวดล้อมในโรงเรียน |
||
วันที่ 8 มิถุนายน 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ-จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน - พัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส - กิจกรรม Big CleaningDay ร่วมกับผู้ปกครอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
216 | 225 |
11. ประชุมติดตามการดำเนินงานระยะที่ 1 ,2,3 |
||
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 21 |
12. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน |
||
วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน - จัดการประชุมเสนอโครงการต่อผู้ปกครองรับสมัครสมาชิกที่สนใจ - อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกที่สนใจในการปลูกผัก พร้อมทั้ง แจกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อนำไป ขยายผลต่อไป - นำผู้ปกครอง นักเรียนศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้เกษตรแม่เหี๊ยะ - ผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้รับมาปลูกผักปลอดสารพิษในบริเวณบ้านที่อยู่อาศัยของตนเอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
143 | 186 |
13. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพ |
||
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ฐานการเรียนรู้ต่างๆ และไวนิล ศึกษาอบรมความรู้เรื่องเสาวรสและผักจากปราชญ์ชาวบ้านจัดกิจกรรมเริงร่าหลากหลายเมนูผักหรรษาของนักเรียนชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่ 6 และจัดการประกวดกิจกรรมเริงร่าหลากหลายเมนูผักหรรษา(สัปดาห์กินผัก)ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
127 | 136 |
14. กิจกรรมการจัดบริการสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำออกเยี่ยมบ้านนักเรียน และนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภคอาหารในครัวเรือนพร้อมทั้งให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการบริโภคแก่ผู้ปกครองและนักเรียน บันทึกน้ำหนักส่วนสูงและการบริโภคอาหารนักเรียนทุกวันเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
221 | 225 |
15. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ให้ กับ สสส. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
3 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | พัฒนาโรงเรียนบ้านกาดฮาวให้เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัด : โรงเรียนบ้านกาดฮาวเป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส |
มาตรฐานที่ 1 : การบริหารจัดการสู่การเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 =24 มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการดำนเนินงานพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส องค์ประกอบที่ 1 : เกษตรในโรงเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1 =8 องค์ประกอบที่ 2 : สหกรณ์นักเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2 =4 องค์ประกอบที่ 3 : การจัดบริการอาหารนักเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 3 =15 องค์ประกอบที่ 4 : การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 4 =4 องค์ประกอบที่ 5 : การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 5 =4 องค์ประกอบที่ 6 : การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 6 =4 องค์ประกอบที่ 7 : การจัดบริการสุขภาพนักเรียน รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 7 =4 องค์ประกอบที่ 8 : การจัดการเรียนรู้เกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ รวมระดับผลการประเมินองค์ประกอบที่ 8 =12รวม 55 มาตรฐานที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานโรงเรียน ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ก. ด้านความรู้ รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ก. ด้านความรู้=12 ข. ด้านทักษะ รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ข. ด้านทักษะ=12 ผลลัพธ์ รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ผลลัพธ์=12 ก. ด้านโภชนาการ รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ก. ด้านโภชนาการ=12 ข. ด้านสุขภาพ รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ข. ด้านสุขภาพ=20 ค. ด้านผลการเรียน รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ค. ด้านผลการเรียน=8 ง. ด้านจิตสาธารณะ รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 ง. ด้านจิตสาธารณะ=4 รวมระดับผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 =80 |
|||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชนให้มีคุณภาพในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับอาหารที่เหมาะสมและมีคุณภาพตามช่วงวัย จากการใช้โปรแกรม Thai School Lunch |
มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนและบอกสารอาหารของแต่ละเมนู 2.นักเรียนตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง |
|||
3 | เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส |
ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียน เพิ่ม 4 ฐานได้แก่ ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์ ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์ ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ และนักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองและรู้ทันโรคที่เกิดขึ้นในฤดูฝน เช่นไข้เลือดออกโรคตาแดง โรคมือ ปากเท้า สามารถป้องกันตนเองและนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับที่บ้านและชุมชน โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมสะอาดเหมาะแก่การเป็นศูนย์เรียนรู้โดยความร่วมมือของผู้ปกครองนักเรียน และครูช่วยกันทำความสะอาดโรงเรียน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาโรงเรียนบ้านกาดฮาวให้เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชนให้มีคุณภาพในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ (3) เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกาดฮาว
รหัสโครงการ ศรร.1111-001 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.01 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
ได้หลักสูตรท้องถิ่น 4 เรื่อง ดังนี้
- ปลูกผักส่งรัก (มีข้อมูลการปลูกผักปลอดสารพิษ เช่น บทบาทของไส้เดือนกับการปลูกผัก / การใช้ EM กับการปลูกผักปลอดสารพิษ /การใช้กับดักแมลงในการปลูกผัก
- เสาวรสมากประโยชน์
- นางฟ้าตกสวรรค์
- ครบเครื่องเรื่องกบ
- จัดทำมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
- จัดทำคำอธิบายรายวิชา
- จัดทำโครงสร้างหลักสูตร
- เตรียมสื่อการสอน
- จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
- ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผน
- ประเมินผล (ทดสอบ)
- ขยายเพิ่มเติมแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษทั้งผักและสัตว์ (ไก่ไข่)
- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่นักเรียนและชุมชนให้มากยิ่งขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
จัดกิจกรรมการเรียนรู้สหกรณ์
- ระดมทุน สมัครสมาชิกสหกรณ์
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้สหกรณ์
- จัดกิจกรรมสหกรณ์ในรูปแบบร้านค้าเพื่อส่งเสริมการขายผลผลิตทางการเกษตรและจำหน่ายสินค้าคุณภาพและสินค้าที่เอื้อต่อโครงการอาหารกลางวัน
- ขยายเนื้อที่ร้านค้าสหกรณ์นักเรียน
- ระดมทุนให้เพิ่มขึ้น
- เพิ่มสินค้าในร้านสหกรณ์
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน โดยผู้นำนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ
- อบรมนักเรียนผู้รับผิดชอบในการลงข้อมูล รายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch
- ผู้รับผิดชอบจัดทำรายการอาหารกลางวัน
- เสนอรายการอาหารกลางวันต่อครูผู้รับผิดชอบเพื่อครวจสอย
- ลงรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน
- นำรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อไปให้แม่ครัว
- ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
- สำรวจความพึงพอใจ
ขยายผลการโปรแกรม Thai School Lunch ไปยังโรงเรียนอื่นๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรมแรลลี่ลดพุง
- จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม
- แก้ปัญหาเด็กอ้วนโดยกิจกรรมแรลลี่ลดพุง โดยนักเรียนกลุ่มเสี่ยงออกกำลังกาย (ตะลุย 9 ด่าน พิชิตโรค) / ควบคุมการรับประทานอาหาร โดยให้นักเรียนบันทึกรายการอาหารและขนมที่รับประทานในแต่ละวัน ส่งให้เจ้าหน้าที่และครูตรวจสอบว่าควรรับประทานหรือไม่ เพราะเหตุใด
- ออกเยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสื่ยง เพื่อรู้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน ขณะที่อยู่ที่บ้าน พร้อมทั้งให้ความรู้และขอความร่วมมือจากผู้ปกครองนักเรียนในการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนแค่ละคน
- ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง
ลดจำนวนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
กิจกรรมเรือนนี้มีรักปลูกผักปลอดสารพิษ
- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน
- จัดการประชุมเสนอโครงการต่อผู้ปกครองรับสมัตรสมาชิกที่สนใจ
- ประชุม / อบรมสมาชิกที่สนใจในการปลูกผัก / แจกเมล็ดพันธุ์
- นำคณะศึกษาดูงาน
- จัดประกวด “เรือนนี้มีรักปลูกผักปลอดสารพิษ”
- จัดประกวด สร้างสรรเมนูผั
ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษไปยังครัวเรือนอื่นๆเพิ่มขึ้น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่สะอาด ปลอดภัย และเป็นศูนย์การเรียนรู้ได้
- จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน
- พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัย
เช่น น้ำดื่มที่สะอาด / ที่ล้างมือ / ห้องส้วม / การจัดการขยะ
ดำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกาดฮาว
รหัสโครงการ ศรร.1111-001 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.01 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | ได้หลักสูตรท้องถิ่น 4 เรื่อง ดังนี้ - ปลูกผักส่งรัก (มีข้อมูลการปลูกผักปลอดสารพิษ เช่น บทบาทของไส้เดือนกับการปลูกผัก / การใช้ EM กับการปลูกผักปลอดสารพิษ /การใช้กับดักแมลงในการปลูกผัก - เสาวรสมากประโยชน์ - นางฟ้าตกสวรรค์ - ครบเครื่องเรื่องกบ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | จัดกิจกรรมการเรียนรู้สหกรณ์ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch) ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน โดยผู้นำนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการ |
|
ขยายผลการโปรแกรม Thai School Lunch ไปยังโรงเรียนอื่นๆ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | กิจกรรมแรลลี่ลดพุง |
|
ลดจำนวนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | กิจกรรมเรือนนี้มีรักปลูกผักปลอดสารพิษ |
|
ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษไปยังครัวเรือนอื่นๆเพิ่มขึ้น |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่สะอาด ปลอดภัย และเป็นศูนย์การเรียนรู้ได้ |
|
ดำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านกาดฮาว จังหวัด เชียงใหม่
รหัสโครงการ ศรร.1111-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายภาณุพงศ์ ประพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......