แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา ”
207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100
หัวหน้าโครงการ
นายวรพันธ์ กัญญเทพ
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนทองทิพย์วิทยา
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา
ที่อยู่ 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100 จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-017 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.17
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนทองทิพย์วิทยา
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนทองทิพย์วิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100 รหัสโครงการ ศรร.1112-017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนทองทิพย์วิทยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 275 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณ์สำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
จากการร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ ๑โรงเรียนทองทิพย์วิทยาได้ดำเนินกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรมจากการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังนี้
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์/นวัตกรรม
3.1 การเกษตรในโรงเรียน ๑. ไข่ไก่
๒. พืชผักสวนครัวตามฤดูกาล
๓. ปลาดุก ๔. เห็ดนางฟ้า ๕. กบ
3.2 สหกรณ์นักเรียน ๑. มีกิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ มีสมาชิกทั้งหมด ๕๑ คน ยอดเงินออมทรัพย์ณ วันที่ ๓๐ ต.ค. ๒๕๕๘ นักเรียนมีเงินฝากรวมทั้งหมด๔๒๗,๙๓๙.๙๘บาท
๒. สหกรณ์ร้านค้าจำหน่ายเครื่องเขียน และ ผลผลิตการเกษตร
3.3 การจัดบริการอาหารของโรงเรียน ๑. จ้างเหมาผู้ประกอบการ แต่มาทำที่โรงเรียน
3.4 การติดตามภาวะโภชนาการ ๑. มีการวัดส่วนสูง และชั่งน้ำหนัก โดยครูอนามัย โรงเรียนและจากการติดตามของ รพ.สต.บ้านหนอง
3.5 การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๑. ให้นักเรียนตักอาหารเองตามความต้องการของตนเองพออิ่ม
3.6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๑. ด้านอนามัยนักเรียน มีน้ำดื่ม น้ำใช้ ห้องน้ำ ห้องส้วม ที่สะอาดไว้บริการนักเรียน
๒. มีสถานที่สำหรับแปรงฟัน ล้างอุปกรณ์ครัว ถ้วยชาม ที่สะอาด และพอเพียงสำหรับนักเรียน
๓. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยเน้นด้านความสะอาด และอากาศปลอดโปร่ง
๔. มีการคัดแยกขยะ จากธนาคารขยะ ของโรงเรียน
3.7 การจัดบริการสุขภาพ ๑. มีการตรวจสุขภาพอนามัย จากโรงพยาบาลแม่ทะ และ สุขภาพปาก และฟัน
๒.การตรวจสุขภาพอนามัยจาก รพสต. บ้านหนอง
๓. รับการตรวจรักษาในการเจ็บป่วยจากโรงพยาบาลแม่ทะ
สาขาน้ำโจ้
3.8 การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ๑. มีการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการในสาระ กอท.และ
สาระสุขศึกษา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง
- เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม
- เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเหมาะสมถูกสุขลักษณะ
- นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการลดลงอย่างน้อย 50 %
- นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้อย่างครบวงจรสำหรับชุมชนและเครือข่าย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การอบรมแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วม
- ดำเนินการอบรมตามแผน อบรม เรื่อง การแก้ปัญหาทุพโภชนาการการของนักเรียน โดยมีคณะครู นักเรียนและผู้ปกครองเข้าร่วมและมีเจ้าอาวาสวัด เจ้าหน้าที่รพสต.และผ็้แนะนำการปลูกผักHydroponicsเป็นวิทยากร
- สรุปผล
4.ประเมินผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนเหมาะสมตามวัย ประโยชน์ของการรับประทานผักที่ปลอดสารพิษและแนวทางในการดำเนินชีวิตที่มีความพอเพียง
58
58
2. พืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ระยะที่1
วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุมคณะครูและตัวแทนผู้ปกครอง
- ดำเนินกิจกรรมตามแผนโดยจัดซื้อเมล็ดพันธุ์พืชผักและต้นกล้าแจกจ่ายให้กับผู้ปกครอง
- ติดตามผล
4. ประเมินผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและผู้ปกครองจำนวน 100 ครอบครัว มีการทำกิจกรรมร่วมกัน
นักเรียนและผู้ปกครองมีผักสวนครัวที่สะอาด ปลอดสารพิษรับประทาน
โรงเรียนมีผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษให้โคงการอาหารกลางวัน
275
246
3. ศึกษาดูงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำโครงการศึกษาดูงานโรงเรียนบ้านกาดฮาว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และกำหนดการศึกษาดูงาน
- จัดทำหนังสือสัญญายืมเงินโครงการ
- จัดทำหนังสือเชิญคณะกรรมการ ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน และหนังสือขออนุญาติผู้ปกครอง
- เดินทางไปศึกษาดูงานและประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรม เรื่อง .................ดูอะไรบ้าง...................
5.จัดทำเอกสารหลักฐานต่าง ๆ พร้อมสรุปโครงการ
ุ6. ประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สิ่งที่ได้จากการไปศึกษาดูงานคือผู้ร่วมศึกษาดูงาน จำนวน 60 คน ได้ความรู้และแนวทางในการจัดกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ทั้งด้านการจัดฐานกิจกรรมต่าง ๆ การนำเสนอของนักเรียน การจัดอาหารกลางวันของนักเรียน และแนวทางในการจัดทำเอกสารการเงินต่าง ๆ
สิ่งที่โรงเรียนนำมาใช้หลังจากการไปศึกษาดูงาน คือ การจัดทำป้ายกิจกรรมต่าง ๆ โครงการ ปรับปรุงการจัดทำเมนูอาหารกลางวันให้เหมาะสม เพิ่มเมนูอาหารพื่นเมืองสัปดาห์ละ 1 วัน ฝึกการนำเสนอของนักเรียน
60
54
4. ปลูกผักไร้ดิน (hydroponics)
วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เตรียมอุปกรณ์ ดำเนินการติดตั้งชุดปลูกผัก Hydroponics
- วันที่ 12 สิงหาคมปลูกผัก และจัดทำปุ๋ย และเพาะเมล็ดพันธุ์เพิ่ม
- เก็บผักและนำส่งสหกรณ์ร้านค้าของโรงเรียนและจำหน่าย
- ปลูกผักชุดใหม่
- ประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครูที่รับผิดชอบและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องวิธีการปลูกผัก Hydroponics
- มีผัก ปลอดสารพิษสำหรับรับประทานและจำหน่ายจำหน่าย
37
37
5. ถอนเงินค่าเปิดบัญชี
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินค่าเปิดบัญชี จำนวน 500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
2
2
6. ปรับปรุงซ่อมแซมโต๊ะอาหารของนักเรียน
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ติดต่อจ้างเหมาผู้ปกครองนักเรียนซ่อมแซมโต๊ะ
- ดำเนินการซ่อมแซมโต๊ะอาหารในโรงอาหารทั้งอาคารประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
- ตรวจผลงาน
- ประเมินผลงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนทั้งระดับอนุบาล ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีโต๊ะสำหรับรับประทานอาหาร ที่สะอาด สวยงาม และ ปลอดภัย และสามารถนำโต๊ะที่ซ่อมไปใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ ได้
146
151
7. ปรับปรุงแก้ไขระบบน้ำดื่มสะอาดของโรงเรียน
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- รับบริจาคตู้เครื่องกรองน้ำดื่มสะอาด จากกองทุนหมู่บ้าน
2.ดำเนินการจ้างเหมาผู้ปกครอง ปรับระบบและปรับปรุงระบบน้ำดื่ม
- ประเมินผลงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน คณะครู และบุคลากรในโรงเรียน มีนัำดื่มที่สะอาด ปลอดภัย สำหรับใช้ดื่ม และทำกิจกรรมต่าง ๆ
- โรงเรียนประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องซื่อน้ำดื่มให้กับนักเรียนและบุคลากร
- นักเรียนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำดื่ม
146
146
8. อบรมบริหารกายบริหารจิต
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำรายละเอียดกิจกรรม และแต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบ
2. ดำเนินการจัดการอบรมตามแผนงาน
3. ประเมินผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนและผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้เกี่ยวกับการการบริหารกาย บริหารจิต สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
- นักเรียนที่เข้ารับการอบรม มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
102
102
9. พืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ระยะที่ 2
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อพันธุ์ผักตามฤดูกาลได้แก่ มะเขือ มะเขือเทศ พริก และคะน้า มาจัดแบ่งให้นักเรียนปลูกในโรงเรียนและที่บ้าน
- ครูที่รับผิดชอบติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
- นำผลผลิตในโรงเรียนส่งให้โครงการอาหารกลางวัน ผ่านสหกรณ์ร้านค้าของโรงเรียน
- ประเมินผลการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมจำนวน 90 คน มีความรู้เกี่ยวกับการปลูกและดูแลผัก มีผลผลิตที่สะอาดปลอดสารพิษรับประทานที่บ้านและที่โรงเรียน
133
100
10. อบรมเชิงปฏิบัติการรักษ์สุขภาพรักษ์สิ่งแวดล้อม
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุม วางแผนดำเนินงาน แต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบ จัดทำหนังสือเชิญผู้ร่วมงาน ได้แก่ วิทยากร ผู้ปกครอง นักเรียนในกลุ่มเครือข่ายและ ชุมชน
2.ดำเนินการตามแผนโดยการจัดฐานการเรียนรู้จำนวน 5 ฐานให้นักเรียนทุกคนเข้าเรียนรู้ ได้แก่ฐานกาดมั่วครัวงาย ฐานอาหารเครื่อมดื่มเพื่อสุขภาพ ฐานชีวิตปลอดภัยห่างไกลยาเสพติด ฐานขยับกายสบายชีวีและฐานโภชนาการอาหารปลอดภัย
3.ประเมินผล
4.รายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนโรงเรียนทองทิพย์วิทยา จำนวน 127 คนและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายตำบลน้ำโจ้ จำนวน 47 คน ได้ร่วมกิจกรรมและได้รับความรู้จากฐานต่าง ๆ
- ผู้ปกครอง ชุมชน และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสของโรงเรียน และร่วมอุดหนุนผลิตผลจากการดำเนินงาน ได้แก่ ไข่ไก่ เห็ดนางฟ้า ปลาดุก กบ ผักปลอดสารพิษ และผักไฮโดรโปนิกส์
277
249
11. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำรายงานขออนุมัติเบิกดอกเบี่ี้ยเงินฝาก
- ดำเนินการเบิกถอนเงินจากบัญชี
- นำเงินสดค่าดอกเบี้ยส่งคืนหน่วยงานที่รับผิดชอบ(สสส.)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
3
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง จำนวน60คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch และ
แนวทางในการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใสและรู้แนวทางการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
โรงเรียนสามารถสร้างเครือข่ายความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Thai school lunch ได้ร้อยละ 30 และสร้างเครือข่ายความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการตามกิจกรรมโครงการได้ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
2
เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีปัญหาทุพโภชนาการ ลดลงอย่างน้อย 10 %
นักเรียนโรงเรียนทองทิพย์วิทยามีปัญหาด้านทุพโภชนาการ ลดลง 17 %
3
เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม
ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมถูกสุขลักษณะ มีน้ำดื่มสะอาดและมีภูมิทัศน์ที่เหมาะสม
1.โรงเรียนมีการจัดน้ำดิ่มสะอาดให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น
2.โรงเรียนมีการปลูกต้นไม้ ดอกไม้บริเวณอาคารเรียน
4
เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย
ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครอง จำนวน 250 คน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการสุขภาวะและโภชนาการ
โรงเรียนสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสุขภาวะและโภชนาการได้ 80% ของกลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง (3) เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม (4) เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา
รหัสโครงการ ศรร.1112-017 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.17 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-017
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวรพันธ์ กัญญเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา ”
207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100
หัวหน้าโครงการ
นายวรพันธ์ กัญญเทพ
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100 จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-017 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.17
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนทองทิพย์วิทยา
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนทองทิพย์วิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ 207 ม. 3 ตำบลน้ำโจ้ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 52100 รหัสโครงการ ศรร.1112-017 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนทองทิพย์วิทยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 275 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณ์สำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
จากการร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ ๑โรงเรียนทองทิพย์วิทยาได้ดำเนินกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรมจากการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้าน
การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังนี้
กิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์/นวัตกรรม
3.1 การเกษตรในโรงเรียน ๑. ไข่ไก่
๒. พืชผักสวนครัวตามฤดูกาล
๓. ปลาดุก ๔. เห็ดนางฟ้า ๕. กบ
3.2 สหกรณ์นักเรียน ๑. มีกิจกรรมสหกรณ์ออมทรัพย์ มีสมาชิกทั้งหมด ๕๑ คน ยอดเงินออมทรัพย์ณ วันที่ ๓๐ ต.ค. ๒๕๕๘ นักเรียนมีเงินฝากรวมทั้งหมด๔๒๗,๙๓๙.๙๘บาท
๒. สหกรณ์ร้านค้าจำหน่ายเครื่องเขียน และ ผลผลิตการเกษตร
3.3 การจัดบริการอาหารของโรงเรียน ๑. จ้างเหมาผู้ประกอบการ แต่มาทำที่โรงเรียน
3.4 การติดตามภาวะโภชนาการ ๑. มีการวัดส่วนสูง และชั่งน้ำหนัก โดยครูอนามัย โรงเรียนและจากการติดตามของ รพ.สต.บ้านหนอง
3.5 การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๑. ให้นักเรียนตักอาหารเองตามความต้องการของตนเองพออิ่ม
3.6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๑. ด้านอนามัยนักเรียน มีน้ำดื่ม น้ำใช้ ห้องน้ำ ห้องส้วม ที่สะอาดไว้บริการนักเรียน
๒. มีสถานที่สำหรับแปรงฟัน ล้างอุปกรณ์ครัว ถ้วยชาม ที่สะอาด และพอเพียงสำหรับนักเรียน
๓. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนโดยเน้นด้านความสะอาด และอากาศปลอดโปร่ง
๔. มีการคัดแยกขยะ จากธนาคารขยะ ของโรงเรียน
3.7 การจัดบริการสุขภาพ ๑. มีการตรวจสุขภาพอนามัย จากโรงพยาบาลแม่ทะ และ สุขภาพปาก และฟัน
๒.การตรวจสุขภาพอนามัยจาก รพสต. บ้านหนอง
๓. รับการตรวจรักษาในการเจ็บป่วยจากโรงพยาบาลแม่ทะ
สาขาน้ำโจ้
3.8 การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ๑. มีการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการในสาระ กอท.และ
สาระสุขศึกษา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง
- เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม
- เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมเหมาะสมถูกสุขลักษณะ
- นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการลดลงอย่างน้อย 50 %
- นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้อย่างครบวงจรสำหรับชุมชนและเครือข่าย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การอบรมแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองและนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพ การเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนเหมาะสมตามวัย ประโยชน์ของการรับประทานผักที่ปลอดสารพิษและแนวทางในการดำเนินชีวิตที่มีความพอเพียง
|
58 | 58 |
2. พืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ระยะที่1 |
||
วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและผู้ปกครองจำนวน 100 ครอบครัว มีการทำกิจกรรมร่วมกัน
|
275 | 246 |
3. ศึกษาดูงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสิ่งที่ได้จากการไปศึกษาดูงานคือผู้ร่วมศึกษาดูงาน จำนวน 60 คน ได้ความรู้และแนวทางในการจัดกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ทั้งด้านการจัดฐานกิจกรรมต่าง ๆ การนำเสนอของนักเรียน การจัดอาหารกลางวันของนักเรียน และแนวทางในการจัดทำเอกสารการเงินต่าง ๆ สิ่งที่โรงเรียนนำมาใช้หลังจากการไปศึกษาดูงาน คือ การจัดทำป้ายกิจกรรมต่าง ๆ โครงการ ปรับปรุงการจัดทำเมนูอาหารกลางวันให้เหมาะสม เพิ่มเมนูอาหารพื่นเมืองสัปดาห์ละ 1 วัน ฝึกการนำเสนอของนักเรียน
|
60 | 54 |
4. ปลูกผักไร้ดิน (hydroponics) |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
37 | 37 |
5. ถอนเงินค่าเปิดบัญชี |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินค่าเปิดบัญชี จำนวน 500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
2 | 2 |
6. ปรับปรุงซ่อมแซมโต๊ะอาหารของนักเรียน |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนทั้งระดับอนุบาล ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีโต๊ะสำหรับรับประทานอาหาร ที่สะอาด สวยงาม และ ปลอดภัย และสามารถนำโต๊ะที่ซ่อมไปใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ ได้
|
146 | 151 |
7. ปรับปรุงแก้ไขระบบน้ำดื่มสะอาดของโรงเรียน |
||
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
146 | 146 |
8. อบรมบริหารกายบริหารจิต |
||
วันที่ 6 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำรายละเอียดกิจกรรม และแต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบ 2. ดำเนินการจัดการอบรมตามแผนงาน 3. ประเมินผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
102 | 102 |
9. พืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ระยะที่ 2 |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมจำนวน 90 คน มีความรู้เกี่ยวกับการปลูกและดูแลผัก มีผลผลิตที่สะอาดปลอดสารพิษรับประทานที่บ้านและที่โรงเรียน
|
133 | 100 |
10. อบรมเชิงปฏิบัติการรักษ์สุขภาพรักษ์สิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุม วางแผนดำเนินงาน แต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบ จัดทำหนังสือเชิญผู้ร่วมงาน ได้แก่ วิทยากร ผู้ปกครอง นักเรียนในกลุ่มเครือข่ายและ ชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
277 | 249 |
11. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
3 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : บุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง จำนวน60คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโปรแกรมThai school lunch และ แนวทางในการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการเด็กไทยแก้มใสและรู้แนวทางการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน |
โรงเรียนสามารถสร้างเครือข่ายความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Thai school lunch ได้ร้อยละ 30 และสร้างเครือข่ายความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการตามกิจกรรมโครงการได้ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย |
|||
2 | เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง ตัวชี้วัด : นักเรียนมีปัญหาทุพโภชนาการ ลดลงอย่างน้อย 10 % |
นักเรียนโรงเรียนทองทิพย์วิทยามีปัญหาด้านทุพโภชนาการ ลดลง 17 % |
|||
3 | เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมถูกสุขลักษณะ มีน้ำดื่มสะอาดและมีภูมิทัศน์ที่เหมาะสม |
1.โรงเรียนมีการจัดน้ำดิ่มสะอาดให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น 2.โรงเรียนมีการปลูกต้นไม้ ดอกไม้บริเวณอาคารเรียน |
|||
4 | เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครอง จำนวน 250 คน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการสุขภาวะและโภชนาการ |
โรงเรียนสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ด้านสุขภาวะและโภชนาการได้ 80% ของกลุ่มเป้าหมาย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และแนวทางแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ แข็งแรง (3) เพื่อปรังปรุงพัฒนาระบบสุขาภิบาล / สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ให้เหมาะสม (4) เพื่อสร้างและขยายเครือข่ายโครงการเด็กไทยแก้มใส และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน และโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา
รหัสโครงการ ศรร.1112-017 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.17 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนทองทิพย์วิทยา
รหัสโครงการ ศรร.1112-017 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.17 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนทองทิพย์วิทยา จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-017
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวรพันธ์ กัญญเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......