แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง ”
348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
หัวหน้าโครงการ
นายมานพ ภัคเนียรนาท
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง
ที่อยู่ 348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-016 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.16
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง " ดำเนินการในพื้นที่ 348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง รหัสโครงการ ศรร.1112-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 303 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนดยภาพรวม นักเรียนมีอัตราการบริโภคผัก ผลไม้ในอัตราที่ต่ำมาก การบริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ นักเรียนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ ด้านโภชนาการ และยังมีวัฒนธรรมการกินอาหารที่ผิดๆเช่น ชอบกินอาหารหมักดอง ดื่มน้ำอัดลม เป็นต้น อีกทั้งนักเรียนยังมีพื้นฐานอนามัยส่วนบุคคล ไม่สะอาด เพราะติดนิสัยจากครอบครัวที่เป็นชนเผ่าและมีฐานะยากจนในส่วนของโรงเรียนเองก็มีพื้นที่สำหรับทำการเกษตรไม่เพียงพอ และโรงเรียนก็สามารถจัดอาหารให้นักเรียนได้เพียงวันละ 1 มื้อ ตามงบประมาณที่ได้รับเท่านั้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมของเกษตรและนำผลผลิตมาสนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดสารพิษ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการซื้อ ขาย ฝึกระเบียบวินัย การเลือกซื้อสิ่งบริโภคที่มีประโยชน์
และฝึกความซื่อสัตย์สุจริต
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนเกิดการเรียนรู้สิ่งต่างๆด้วยการปฏิบัติจริงอย่างมีความสุขและสนุกสนาน
- นักเรียนมีร่างกายสะอาด มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยมาเบียดเบียน
- โรงเรียนพร้อมที่จะเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเพื่อถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมครูและผู้ปกครอง
วันที่ 15 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจง โครงการเด็กไทยแก้มใส เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการบริหารจัดการอาหารโภชนาการและสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนที่นำไปสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืนโดยมีกิจกรรม ๑. ๑ เมนู ๑ วงล้อ โดยปลูกผักในวงล้อ และจะมีการประกวดและมีรางวัล ๒. สหกรณ์นักเรียน ๓. การจัดบริการอาหาร ๔. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ๕. การติดตามภาวะโภชนาการ ๖. การพัฒนาสุขนิสัย ๗. การจัดบริการสุขภาพ ๘. การจัดการเรียนรู้
มติที่ประชุม เห็นชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
ผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม 144 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
เกิดเครือข่ายดูแล เฝ้าระวังฯ และกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และชุมชนในมีแผนการดำเนินงานอันเกิดจากการระดมความคิดเห็นของบุคลากรในโรงเรียนและคนในชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และมีการบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนฯที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงาน มีคณะทำงานและติดตาม ปฏิสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
159
159
2. อาหารเสริมเติมรอยยิ้ม ระยะที่ 1
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 11.30น. น.กิจกรรมที่ทำ
จัดเสริมน้ำเต้าหู้ ขนมไทย ผลไม้ตามฤดูกาล ให้แก่นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
นักเรียน 144 คน ได้รับอาหารเสริมที่ดีต่อสุขภาพ
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงสมบูรณ์
159
159
3. ส่งเสริมสุขนิสัย ใส่ใจสุขภาพ
วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนแกนนำและส่งเสริมสุขภาพล้างมือ 7 ขั้นตอน
รพ.สต.ไหล่หินตรวจฟัน รวมถึงตรวจสายตาและตรวจการได้ยิน นักเรียนชั้นอนุบาล –ประถมศึกษาปีที่ 6
ให้ความรู้ในเรื่องสุขบัญญัติ 10 ประการ , ธงโภชนาการ , อาหารตามโซนสี , โรคติดต่อต่างๆ เป็นต้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
นักเรียน 144 คน ร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัย ใส่ใจสุขภาพ
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนมีความรู้และได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 90
นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพจิตสอนน้องๆล้างมือ 7 ขั้นตอน
นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพตรวจฟันเบื้องต้น นักเรียนชั้นอนุบาล –ประถมศึกษาปีที่ 6
นักเรียนแกนนำให้ความรู้ในเรื่องสุขบัญญัติ 10 ประการ , ธงโภชนาการ , อาหารตามโซนสี , โรคติดต่อต่างๆ เป็นต้น
นักเรียนตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาปีที่4 – ประถมศึกษาปีที่ 6 ตรวจสุขภาพร่างกายด้วยตนเอง โดยมีแบบบันทึกสุขภาพด้วยตนเอง รวมถึงตรวจสายตาและตรวจการได้ยินแบบง่าย
159
163
4. เลี้ยงปลาบ่อซีเมนต์
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือเลี้ยงปลาประกอบเป็นอาหารกลางวันและจัดจำหน่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- นักเรียน10 คน รับผิดชอบการเลี้ยงปลา
- มีบ่อเลี้ยงปลา 1 บ่อ เลี้ยงปลาได้ 3000 ตัว
- นักเรียน 112 คน เข้าร่วมกิจกรรมการเลี้ยงปลา
ผลลัพธ์ (Outcome)
-นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเลี้ยงปลา สามารถนำไปบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระ และนำไปประกอบอาชีพได้
- สามารถนำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนและชุมชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย
117
117
5. ดินไร้สาร
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เตรียมดิน นักเรียนร่วมกันผลิตดินที่ปลอดสารเคมีเพื่อนำมาใช้ในการเพาะปลูกผัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- นักเรียน 10 คน รับผิดชอบการผลิตดินไร้สาร
- นักเรียน 102 คน ร่วมกิจกรรมผลิตดินไร้สาร
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนผลิตดินไร้สารและนำไปประกอบอาชีพได้
- มีผลผลิตไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนและชุมชนได้ใช้ดินไร้สารพิษ
117
117
6. ซุ้มเสาวรส
วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนเรียนรู้ปลูกเสาวรสเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ทานผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- นักเรียน 7 คนรับผิดชอบการปลูกเสาวรส
- นักเรียน 112 คน เข้าร่วมกิจกรรมการปลูกเสาวรส
- ปลูกเสาวส 15 ต้น
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระ และนำไปประกอบอาชีพได้
- นำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนและชุมชนได้บริโภคเสาวรส
117
117
7. พิชิตลูกน้ำยุงลาย
วันที่ 8 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนได้สำรวจป้องกันและปราบปราม ลูกน้ำยุงลาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลลัพธ์ (Output)
- นักเรียนร้อยละ 90 มีความรับผิดชอบและรู้จักหน้าที่ในการทำความสะอาด บริเวณต่างๆ
- นักเรียนร้อยละ 90 มีความสามารถในการสำรวจป้องกันและปราบปราม ลูกน้ำยุงลายได้
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
159
117
8. การเพาะเห็ด
วันที่ 11 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้าและเก็บเห็ดฟ้ามาประกอบอาหารเป็นอาหารกลางวันและที่เหลือสามารถจำหน่ายโดยผ่านระบบสหกรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- นักเรียน 10 คน รับผิดชอบในการดูแลโรงเรือนเห็ดนางฟ้า รดน้ำและเก็บเห็ด
- นักเรียน 112 คน เข้าร่วมกิจกรรม
- เห็ดนางฟ้า ก้อน
ผลลัพธ์ (outcome)
- นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเพาะเห็ดสามารถนำไปบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระ และนำไปประกอบอาชีพได้
- นำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน
- นักเรียนและชุมชนได้บริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
117
114
9. ๑ เมนู ๑ วงล้อ
วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สร้างความเข้าใจระหว่างคณะครูนักเรียนและผู้ปกครองในการปลูกผัก 1 เมนู 1 วงล้อ โดยใช้ล้อรถ
เตรียมดิน และพันธ์ุพืชผัก ร่วมกันปลูกพืชผักโดยใช้ล้อรถ 1 ล้อ ให้ได้ 1 เมนู
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- ผู้ปกครอง 90 คน นักเรียน 140 คน ร่วมกิจกรรม 1 เมนู 1 วงล้อ
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระ และนำไปประกอบอาชีพได้
- ผลผลิตจาก 1 เมนู 1 วงล้อ ไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน นักเรียนและชุมชนได้บริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
245
245
10. เลี้ยงไก่ไข่ ระยะที่ 1
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดการดำเนนงาน
เตรียมปรับปรุงเล้าไก่เพื่อป้องกันการเกิดโรคกับไก่ และให้ความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่กับนักเรียนแกนนำ จัดซื้อไก่ อาหาร และวัสดุใส่น้ำ อาหาร
เฝ้าระวังป้องกันผลกระทบที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้อมโดยการรักษาความสะอาดเล้าไก่ใช้แกรบรองพื้นและราด EMป้องกันกลิ่นมีการเปลี่ยนเป็นระยะๆและนำแกรบที่ได้นี้ไปใช้ผสมดินปลูกผัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- นักเรียนแกนนำจำนวน 15 คนเป็นผู้รับผิดชอบในการเลี้ยงไก่ไข่
- มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 40 ตัว
- นักเรียนร่วมเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 102 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนมีความรู้และทักษะในเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ90
-มีไข่ไก่เฉลี่ยวันละ 30 ฟอง จำหน่ายเข้าโครงการอาหารกลางวันและผู้ปกครองนักเรียน
-นักเรียนแกนนำมีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ 80
-มีไข่ให้นักเรียนขาดสารอาหารได้ทุกวัน
117
117
11. อิ่มทุกมื้อหมดทุกจานลดหวานมันเค็ม
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรมschool lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิต ทางการเกษตรของโรงเรียน
มีการจัดการวางแผนการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่สอดคล้องกับเมนู
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
มีรายการอาหารตามTSL หมุนเวียน 1 เดือน
นักเรียน 144 คน รับประทานอาหารจากการจัดรายการอาหาร school lunch
มีผลิตผลเข้าโครงการอาหารกลางวันเฉลี่ยร้อยละ
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
ได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่
159
159
12. ต้านยาเสพติด
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เดินรณรงค์การต่อต้านยาเสพติด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
นักเรียน 102 คน ร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนมีทักษะดำรงชีวิตให้ห่างไกลสิ่งเสพติด
117
117
13. ศึกษาดูงานสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 26 เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านไหล่หินศึกษาดูงานกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนอนุบาลเสริมงาม เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักความหมายประโยชน์และคุณค่าของสหกรณ์ เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจนักเรียนมีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความรอบรู้ที่เหมาะสมเกี่ยวกับสหกรณ์ สามารถรู้วิธีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต(Output)
นักเรียน 95 คน ศึกษาดูงานสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนอนุบาลเสริมงาม
นักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนที่ไปศึกษาดูงานมีความรู้และทักษะในการพัฒนาตนเองด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ ร้อยละ 80
- นักเรียนมีนิสัยรักการออมเพิ่มขึ้น 100%
- มีการดำเนินงานกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า
50
100
14. การทำบัญชีครัวเรือน (บัญชีรายรับ-รายจ่ายส่วนตัวของนักเรียน)
วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตัวเองในแต่ละวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- นักเรียน 102 คน เรียนรู้การทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายส่วนตัวของนักเรียน
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนมีความรู้และทักษะการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายส่วนตัวของนักเรียน ร้อยละ 90
- นักเรียนเกิดนิสัยรักการออม ร้อยละ 90
117
117
15. เลี้ยงไก่ไข่ระยะที่ 2
วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดการดำเนนงาน
เตรียมปรับปรุงเล้าไก่เพื่อป้องกันการเกิดโรคกับไก่ และให้ความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่กับนักเรียนแกนนำ จัดซื้อไก่ อาหาร และวัสดุใส่น้ำ อาหาร
เฝ้าระวังป้องกันผลกระทบที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้อมโดยการรักษาความสะอาดเล้าไก่ใช้แกรบรองพื้นและราด EMป้องกันกลิ่นมีการเปลี่ยนเป็นระยะๆและนำแกรบที่ได้นี้ไปใช้ผสมดินปลูกผัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
- นักเรียนแกนนำจำนวน 15 คนเป็นผู้รับผิดชอบในการเลี้ยงไก่ไข่
- มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 80 ตัว
- นักเรียนร่วมเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 102 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนมีความรู้และทักษะในเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ90
-มีไข่ไก่เฉลี่ยวันละ 70ฟอง จำหน่ายเข้าโครงการอาหารกลางวันและผู้ปกครองนักเรียน
-นักเรียนแกนนำมีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ 80
-มีไข่ให้นักเรียนขาดสารอาหารได้ทุกวัน
0
117
16. อาหารเสริมเติมรอยยิ้ม ระยะที่ 2
วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดเสริมน้ำเต้าหู้ ขนมไทย ผลไม้ตามฤดูกาล ให้แก่นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
นักเรียน 144 คน ได้รับอาหารเสริมที่ดีต่อสุขภาพ
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงสมบูรณ์
159
159
17. อบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) ส่งเสริมสุขนิสัยใส่ใจสุขภาพ นักเรียนแกนนส่งเสริสุขภาพ มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ
ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่ปลอดสารพิษ ถูกหลักโภชนาการ และครบ 5 หมู่
0
32
18. ปรับปรุงห้องพยาบาล
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการจัดซื้ออุปกรณ์ในการปรับปรุงห้องพยาบาล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
อุปกรณ์ในการปรับปรุงห้องพยาบาล
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนมีสุขภาพพาลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
0
3
19. เผยแพร่แหล่งเรียนรู้สู่ชุมชน
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำชุมชนเข้ามาศึกษาดูงานการปลูกผัก1 เมนู 1 วงล้อ
นำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยให้แต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการนำไปจัดทำที่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) ผู้ปกครอง 38 คน ร่วมกิจกรรมการปลูกผัก 1 เมนู 1 วงล้อ
ผลลัพธ์ (Outcome)- โรงเรียนบ้านไหล่หินได้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สาหรับชุมชนและเครือข่าย
- ชุมชนและเครือข่ายได้สุขนิสัยและทัศนคติที่ดีต่อโครงการเด็กไทยแก้มใส
- นักเรียนทุกคนมีความรู้ ทัศนะคติที่ดีต่อการเกษตร
-โรงเรียน และชุมชนได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและมีสุขภาพที่ดี
199
197
20. ทดสอบสมรรถภาพ
วันที่ 2 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการติดตามภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกายนักเรียน
มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)นักเรียนร้อยละ 100 ได้กับการติดตามภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางการและสุขภาพ อย่างต่อเนื่อง
ผลลัพธ์(Outcome)โรงเรียนสามารถติดตามโรงเรียนเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง
159
117
21. วันเอดส์โลก
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดป้ายนิเทศให้นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับวันเอดส์โลก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับวันเอดส์โลก
ผลลัพธ์ (outcome) นักเรียนมีสุขภาพพาลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
117
117
22. ประกวด ๑ เมนู ๑ วงล้อ
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
รางวัลการประกวด ๑ เมนู ๑ วงล้อ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) นักเรียนร้อยละ 90 เข้าร่วมโครงการประกวด ๑ เมนู ๑ วงล้อ
ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
90
90
23. เวรทำความสะอาด
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 10 สี และมอบหมายหน้าที่
รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณต่างๆในโรงเรียน จัดประกวดกลุ่มสีที่สะอาด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output) นักเรียนร้อยละ 90 มีความรับผิดชอบและรู้จักหน้าที่ในการทาความสะอาด บริเวณต่างๆ
ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
159
159
24. ตลาดนัดนักเรียน
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายในโรงเรียนทุกวันที่ประชุมผู้ปกครอง มีการประชาสัมพันธ์ โดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการเองโดยแกนนำ
พืชผัก เช่นผักบุ้ง ผักกาด มะเขื่อเทศ ผลไม้มะปราง ฯลฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
เปิดตลาดนัดเทอมละ 1 ครั้ง
นักเรียน 102 คน เข้าร่วม
ผู้ปกครองและบุคลากรในโรเรียน 150 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
นักเรียนร้อยละ 90 มีการผลผลิตทางการเกษตรออกจัดจำหน่ายให้แก่ชุมชน
นักเรียนได้เรียนรู้และมีทักษะการตลาด การค้าขาย
117
117
25. ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินออกค่าเปิดบัญชี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
ถอนเงินออกค่าเปิดบัญชี 500 บาท
ผลลัพธ์ (Outcome)
3
3
26. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินดอกเบี้ยจากธนาคาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต (Output)
ดอกเบี้ย 48.96 บาท
ผลลัพธ์ (Outcome)
3
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมของเกษตรและนำผลผลิตมาสนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี
1. ภาวะอ้วน 6.42%
2.ภาวะผอม ไม่เกิน 9
3. ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 4 %
4. เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม)
5. มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน
6. มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน
- มีการติดตามภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนเทอมละ 2 ครั้ง
- ประเมินพฤติกรรมการบริโภคจากแบบประเมินพฤติกรรมโดยตัวเอง
- ประเมินการบริโภคอาหารกลางวัน
ผลการประเมินตามตัวชี้วัด
- ภาวะอ้วน ร้อยละ 8.05
- ภาวะผอม ร้อยละ 3.36
- ภาวะเตี้ย ร้อยละ 5.37
- นักเรียนมีการปรับพฤติกรรมการกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม ร้อยละ 80
- มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวันทุกวัน(แต่มีการปรับวัตุดิบ เช่น ผัด เนื้อสัตว์ ในบางวัน)
ุุ6. มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกันโดยมีแบบบันทึกการติดตามสุขภาวะของนักเรียน
2
เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการซื้อ ขาย ฝึกระเบียบวินัย การเลือกซื้อสิ่งบริโภคที่มีประโยชน์
และฝึกความซื่อสัตย์สุจริต
ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง)
2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง
3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)
4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
- ประเมินพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง โดยใช้แบบติตตามพฤติกรรมประเมินผลโดยครูและผู้ปกครอง
- ประเมินพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง
- ประเมินจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน โดยประเมินความพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วม
- ประเมินความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโดยใช้แบบประเมินการร่วมกิจกรรม
ผลการประเมินตามตัวชี้วัด
- เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง ร้อยละ 80
- นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง ร้อยละ 90
- นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียนมีความพึ่งพอใจร้อยละ 90
- นักเรียนให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ร้อยละ 100
3
เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4
2. จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%
การประเมินผล
- โรงเรียนมีประเมินด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพโดยประเมินผลการเชื่อมโยงการจัดการด้านอาหารที่ส่งผลต่อสุขภาพ,ประเมินผลการจัดอาหารและอาหารว่าง,ประเมินผลภาวะสุขภาพนักเรียน,
- จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%โดยประเมินเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมก่อนและหลังการจัดทำโครงการ
ผลการประเมิน
- โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4
- จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมของเกษตรและนำผลผลิตมาสนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดสารพิษ (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการซื้อ ขาย ฝึกระเบียบวินัย การเลือกซื้อสิ่งบริโภคที่มีประโยชน์
และฝึกความซื่อสัตย์สุจริต (3) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง
รหัสโครงการ ศรร.1112-016 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.16 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
๑. หนึ่งเมนู หนึ่งวงล้อ
๒. การเลี้ยงกบขวด - จัดหากบมาให้นักเรียนที่สนใจ ซื้อไปเลี้ยงที่บ้านโดยให้เลี้ยงในขวด ซึ่งนักเรียนและผู้ปกครองต้องคอยดูแลให้อาหารและทำความสะอาดขวด จนถึงเวลา ๓ เดือน จึงนำกบมาประกวดแข่งขันเพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการฝึกฝนตนเองให้มีความรับผิดชอบและมีวินัย
๑. นำวงล้อรถยนต์มาจัดทำเป็นกระถางปลูก โดยให้พิจารณาพืชที่นำมาปลูกให้มีความสอดคล้องกับเมนูอาหารที่จะผักที่ปลูกไปทำอาหารนั้นเด็กได้เรียนรู้การเลือกชนิดผักที่จะปลูกและขยายผลให้ผู้ปกครองไปปลูกที่บ้าน เอกสารหลักฐานการเรียนรู้รูปภาพ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
๒. การเลี้ยงกบขวด เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองโดยการให้อาหารสำเร็จรูปการเลี้ยงในขวดใช้เวลาน้อยกว่าเลี้ยงในบ่อแหล่งอ้างอิงรูปภาพและเอกสารวิธีการเลี้ยง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
เครือข่ายเด็กไทยฟันดี โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
ส่งเสริมโดยระบบเครือข่ายกลุ่มโรงเรียนและการมีส่วนของผู้ปกครองในการประเมินผลโดยมีสมุดบันทึกการแปรงฟันตอนเช้า หลังอาหารกลางวันก่อนนอน และติดตามผลโดยครู ผู้ปกครอง ตลอดถึงส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่บ้านด้วย นักเรียนทุกคนมีสมุดบันทึกการแปรงฟัน มีการย้อมสีฟัน เอกสารสำหรับการเรียนรู้ สมุดบันทึก สรุปผลการดำเนินงาน รูปภาพกิจกรรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-016
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมานพ ภัคเนียรนาท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง ”
348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
หัวหน้าโครงการ
นายมานพ ภัคเนียรนาท
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-016 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.16
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง " ดำเนินการในพื้นที่ 348 หมู่ที่ 2 ตำบลไหล่หิน อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง รหัสโครงการ ศรร.1112-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 303 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ปัญหาการบริโภคอาหารและโภชนาการภายในโรงเรียนดยภาพรวม นักเรียนมีอัตราการบริโภคผัก ผลไม้ในอัตราที่ต่ำมาก การบริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ นักเรียนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ ด้านโภชนาการ และยังมีวัฒนธรรมการกินอาหารที่ผิดๆเช่น ชอบกินอาหารหมักดอง ดื่มน้ำอัดลม เป็นต้น อีกทั้งนักเรียนยังมีพื้นฐานอนามัยส่วนบุคคล ไม่สะอาด เพราะติดนิสัยจากครอบครัวที่เป็นชนเผ่าและมีฐานะยากจนในส่วนของโรงเรียนเองก็มีพื้นที่สำหรับทำการเกษตรไม่เพียงพอ และโรงเรียนก็สามารถจัดอาหารให้นักเรียนได้เพียงวันละ 1 มื้อ ตามงบประมาณที่ได้รับเท่านั้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมของเกษตรและนำผลผลิตมาสนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดสารพิษ
- เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการซื้อ ขาย ฝึกระเบียบวินัย การเลือกซื้อสิ่งบริโภคที่มีประโยชน์ และฝึกความซื่อสัตย์สุจริต
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนเกิดการเรียนรู้สิ่งต่างๆด้วยการปฏิบัติจริงอย่างมีความสุขและสนุกสนาน
- นักเรียนมีร่างกายสะอาด มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยมาเบียดเบียน
- โรงเรียนพร้อมที่จะเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสเพื่อถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมครูและผู้ปกครอง |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจง โครงการเด็กไทยแก้มใส เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้โรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในการบริหารจัดการอาหารโภชนาการและสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนที่นำไปสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืนโดยมีกิจกรรม ๑. ๑ เมนู ๑ วงล้อ โดยปลูกผักในวงล้อ และจะมีการประกวดและมีรางวัล ๒. สหกรณ์นักเรียน ๓. การจัดบริการอาหาร ๔. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ๕. การติดตามภาวะโภชนาการ ๖. การพัฒนาสุขนิสัย ๗. การจัดบริการสุขภาพ ๘. การจัดการเรียนรู้ มติที่ประชุม เห็นชอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
ผู้ปกครองเข้าร่วมประชุม 144 คน
ผลลัพธ์ (Outcome)
เกิดเครือข่ายดูแล เฝ้าระวังฯ และกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง และชุมชนในมีแผนการดำเนินงานอันเกิดจากการระดมความคิดเห็นของบุคลากรในโรงเรียนและคนในชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และมีการบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้องค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนฯที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงาน มีคณะทำงานและติดตาม ปฏิสัมพันธ์ที่ดีความร่วมมือที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
|
159 | 159 |
2. อาหารเสริมเติมรอยยิ้ม ระยะที่ 1 |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 11.30น. น.กิจกรรมที่ทำจัดเสริมน้ำเต้าหู้ ขนมไทย ผลไม้ตามฤดูกาล ให้แก่นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) นักเรียน 144 คน ได้รับอาหารเสริมที่ดีต่อสุขภาพ ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงสมบูรณ์
|
159 | 159 |
3. ส่งเสริมสุขนิสัย ใส่ใจสุขภาพ |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนแกนนำและส่งเสริมสุขภาพล้างมือ 7 ขั้นตอน รพ.สต.ไหล่หินตรวจฟัน รวมถึงตรวจสายตาและตรวจการได้ยิน นักเรียนชั้นอนุบาล –ประถมศึกษาปีที่ 6 ให้ความรู้ในเรื่องสุขบัญญัติ 10 ประการ , ธงโภชนาการ , อาหารตามโซนสี , โรคติดต่อต่างๆ เป็นต้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) นักเรียน 144 คน ร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขนิสัย ใส่ใจสุขภาพ ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนมีความรู้และได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 90 นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพจิตสอนน้องๆล้างมือ 7 ขั้นตอน นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพตรวจฟันเบื้องต้น นักเรียนชั้นอนุบาล –ประถมศึกษาปีที่ 6 นักเรียนแกนนำให้ความรู้ในเรื่องสุขบัญญัติ 10 ประการ , ธงโภชนาการ , อาหารตามโซนสี , โรคติดต่อต่างๆ เป็นต้น นักเรียนตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาปีที่4 – ประถมศึกษาปีที่ 6 ตรวจสุขภาพร่างกายด้วยตนเอง โดยมีแบบบันทึกสุขภาพด้วยตนเอง รวมถึงตรวจสายตาและตรวจการได้ยินแบบง่าย
|
159 | 163 |
4. เลี้ยงปลาบ่อซีเมนต์ |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนได้เรียนรู้และลงมือเลี้ยงปลาประกอบเป็นอาหารกลางวันและจัดจำหน่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
- นักเรียน10 คน รับผิดชอบการเลี้ยงปลา
|
117 | 117 |
5. ดินไร้สาร |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเตรียมดิน นักเรียนร่วมกันผลิตดินที่ปลอดสารเคมีเพื่อนำมาใช้ในการเพาะปลูกผัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) - นักเรียน 10 คน รับผิดชอบการผลิตดินไร้สาร - นักเรียน 102 คน ร่วมกิจกรรมผลิตดินไร้สาร ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนผลิตดินไร้สารและนำไปประกอบอาชีพได้ - มีผลผลิตไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน - นักเรียนและชุมชนได้ใช้ดินไร้สารพิษ
|
117 | 117 |
6. ซุ้มเสาวรส |
||
วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนเรียนรู้ปลูกเสาวรสเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ทานผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) - นักเรียน 7 คนรับผิดชอบการปลูกเสาวรส - นักเรียน 112 คน เข้าร่วมกิจกรรมการปลูกเสาวรส - ปลูกเสาวส 15 ต้น ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระ และนำไปประกอบอาชีพได้ - นำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน - นักเรียนและชุมชนได้บริโภคเสาวรส
|
117 | 117 |
7. พิชิตลูกน้ำยุงลาย |
||
วันที่ 8 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนได้สำรวจป้องกันและปราบปราม ลูกน้ำยุงลาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลลัพธ์ (Output) - นักเรียนร้อยละ 90 มีความรับผิดชอบและรู้จักหน้าที่ในการทำความสะอาด บริเวณต่างๆ - นักเรียนร้อยละ 90 มีความสามารถในการสำรวจป้องกันและปราบปราม ลูกน้ำยุงลายได้ ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
|
159 | 117 |
8. การเพาะเห็ด |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้าและเก็บเห็ดฟ้ามาประกอบอาหารเป็นอาหารกลางวันและที่เหลือสามารถจำหน่ายโดยผ่านระบบสหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) - นักเรียน 10 คน รับผิดชอบในการดูแลโรงเรือนเห็ดนางฟ้า รดน้ำและเก็บเห็ด - นักเรียน 112 คน เข้าร่วมกิจกรรม - เห็ดนางฟ้า ก้อน ผลลัพธ์ (outcome) - นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเพาะเห็ดสามารถนำไปบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระ และนำไปประกอบอาชีพได้ - นำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน - นักเรียนและชุมชนได้บริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
|
117 | 114 |
9. ๑ เมนู ๑ วงล้อ |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสร้างความเข้าใจระหว่างคณะครูนักเรียนและผู้ปกครองในการปลูกผัก 1 เมนู 1 วงล้อ โดยใช้ล้อรถ เตรียมดิน และพันธ์ุพืชผัก ร่วมกันปลูกพืชผักโดยใช้ล้อรถ 1 ล้อ ให้ได้ 1 เมนู ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
- ผู้ปกครอง 90 คน นักเรียน 140 คน ร่วมกิจกรรม 1 เมนู 1 วงล้อ ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระ และนำไปประกอบอาชีพได้ - ผลผลิตจาก 1 เมนู 1 วงล้อ ไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน นักเรียนและชุมชนได้บริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
|
245 | 245 |
10. เลี้ยงไก่ไข่ ระยะที่ 1 |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดการดำเนนงาน เตรียมปรับปรุงเล้าไก่เพื่อป้องกันการเกิดโรคกับไก่ และให้ความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่กับนักเรียนแกนนำ จัดซื้อไก่ อาหาร และวัสดุใส่น้ำ อาหาร เฝ้าระวังป้องกันผลกระทบที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้อมโดยการรักษาความสะอาดเล้าไก่ใช้แกรบรองพื้นและราด EMป้องกันกลิ่นมีการเปลี่ยนเป็นระยะๆและนำแกรบที่ได้นี้ไปใช้ผสมดินปลูกผัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) - นักเรียนแกนนำจำนวน 15 คนเป็นผู้รับผิดชอบในการเลี้ยงไก่ไข่ - มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 40 ตัว - นักเรียนร่วมเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 102 คน ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนมีความรู้และทักษะในเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ90 -มีไข่ไก่เฉลี่ยวันละ 30 ฟอง จำหน่ายเข้าโครงการอาหารกลางวันและผู้ปกครองนักเรียน -นักเรียนแกนนำมีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ 80 -มีไข่ให้นักเรียนขาดสารอาหารได้ทุกวัน
|
117 | 117 |
11. อิ่มทุกมื้อหมดทุกจานลดหวานมันเค็ม |
||
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรมschool lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิต ทางการเกษตรของโรงเรียน มีการจัดการวางแผนการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่สอดคล้องกับเมนู ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) มีรายการอาหารตามTSL หมุนเวียน 1 เดือน นักเรียน 144 คน รับประทานอาหารจากการจัดรายการอาหาร school lunch มีผลิตผลเข้าโครงการอาหารกลางวันเฉลี่ยร้อยละ ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ ได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่
|
159 | 159 |
12. ต้านยาเสพติด |
||
วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเดินรณรงค์การต่อต้านยาเสพติด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) นักเรียน 102 คน ร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนมีทักษะดำรงชีวิตให้ห่างไกลสิ่งเสพติด
|
117 | 117 |
13. ศึกษาดูงานสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำวันที่ 26 เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านไหล่หินศึกษาดูงานกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนอนุบาลเสริมงาม เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักความหมายประโยชน์และคุณค่าของสหกรณ์ เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจนักเรียนมีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความรอบรู้ที่เหมาะสมเกี่ยวกับสหกรณ์ สามารถรู้วิธีการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต(Output) นักเรียน 95 คน ศึกษาดูงานสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนอนุบาลเสริมงาม นักเรียนเป็นสมาชิกสหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์ (Outcome)
- นักเรียนที่ไปศึกษาดูงานมีความรู้และทักษะในการพัฒนาตนเองด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ ร้อยละ 80
|
50 | 100 |
14. การทำบัญชีครัวเรือน (บัญชีรายรับ-รายจ่ายส่วนตัวของนักเรียน) |
||
วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตัวเองในแต่ละวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) - นักเรียน 102 คน เรียนรู้การทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายส่วนตัวของนักเรียน ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนมีความรู้และทักษะการทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายส่วนตัวของนักเรียน ร้อยละ 90 - นักเรียนเกิดนิสัยรักการออม ร้อยละ 90
|
117 | 117 |
15. เลี้ยงไก่ไข่ระยะที่ 2 |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดการดำเนนงาน เตรียมปรับปรุงเล้าไก่เพื่อป้องกันการเกิดโรคกับไก่ และให้ความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่กับนักเรียนแกนนำ จัดซื้อไก่ อาหาร และวัสดุใส่น้ำ อาหาร เฝ้าระวังป้องกันผลกระทบที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้อมโดยการรักษาความสะอาดเล้าไก่ใช้แกรบรองพื้นและราด EMป้องกันกลิ่นมีการเปลี่ยนเป็นระยะๆและนำแกรบที่ได้นี้ไปใช้ผสมดินปลูกผัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) - นักเรียนแกนนำจำนวน 15 คนเป็นผู้รับผิดชอบในการเลี้ยงไก่ไข่ - มีการเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 80 ตัว - นักเรียนร่วมเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่จำนวน 102 คน ผลลัพธ์ (Outcome) - นักเรียนมีความรู้และทักษะในเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ90 -มีไข่ไก่เฉลี่ยวันละ 70ฟอง จำหน่ายเข้าโครงการอาหารกลางวันและผู้ปกครองนักเรียน -นักเรียนแกนนำมีทักษะในการเลี้ยงไก่ไข่ร้อยละ 80 -มีไข่ให้นักเรียนขาดสารอาหารได้ทุกวัน
|
0 | 117 |
16. อาหารเสริมเติมรอยยิ้ม ระยะที่ 2 |
||
วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดเสริมน้ำเต้าหู้ ขนมไทย ผลไม้ตามฤดูกาล ให้แก่นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) นักเรียน 144 คน ได้รับอาหารเสริมที่ดีต่อสุขภาพ ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนมีสุขภาพที่ดีแข็งแรงสมบูรณ์
|
159 | 159 |
17. อบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพ |
||
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) ส่งเสริมสุขนิสัยใส่ใจสุขภาพ นักเรียนแกนนส่งเสริสุขภาพ มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่ปลอดสารพิษ ถูกหลักโภชนาการ และครบ 5 หมู่
|
0 | 32 |
18. ปรับปรุงห้องพยาบาล |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการจัดซื้ออุปกรณ์ในการปรับปรุงห้องพยาบาล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
|
0 | 3 |
19. เผยแพร่แหล่งเรียนรู้สู่ชุมชน |
||
วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนำชุมชนเข้ามาศึกษาดูงานการปลูกผัก1 เมนู 1 วงล้อ นำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยให้แต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการนำไปจัดทำที่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) ผู้ปกครอง 38 คน ร่วมกิจกรรมการปลูกผัก 1 เมนู 1 วงล้อ ผลลัพธ์ (Outcome)- โรงเรียนบ้านไหล่หินได้เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สาหรับชุมชนและเครือข่าย - ชุมชนและเครือข่ายได้สุขนิสัยและทัศนคติที่ดีต่อโครงการเด็กไทยแก้มใส - นักเรียนทุกคนมีความรู้ ทัศนะคติที่ดีต่อการเกษตร -โรงเรียน และชุมชนได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและมีสุขภาพที่ดี
|
199 | 197 |
20. ทดสอบสมรรถภาพ |
||
วันที่ 2 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการติดตามภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกายนักเรียน มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)นักเรียนร้อยละ 100 ได้กับการติดตามภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางการและสุขภาพ อย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์(Outcome)โรงเรียนสามารถติดตามโรงเรียนเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง
|
159 | 117 |
21. วันเอดส์โลก |
||
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดป้ายนิเทศให้นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับวันเอดส์โลก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับวันเอดส์โลก ผลลัพธ์ (outcome) นักเรียนมีสุขภาพพาลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง
|
117 | 117 |
22. ประกวด ๑ เมนู ๑ วงล้อ |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำรางวัลการประกวด ๑ เมนู ๑ วงล้อ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) นักเรียนร้อยละ 90 เข้าร่วมโครงการประกวด ๑ เมนู ๑ วงล้อ ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
|
90 | 90 |
23. เวรทำความสะอาด |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 10 สี และมอบหมายหน้าที่ รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณต่างๆในโรงเรียน จัดประกวดกลุ่มสีที่สะอาด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output) นักเรียนร้อยละ 90 มีความรับผิดชอบและรู้จักหน้าที่ในการทาความสะอาด บริเวณต่างๆ ผลลัพธ์ (Outcome) นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
|
159 | 159 |
24. ตลาดนัดนักเรียน |
||
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายในโรงเรียนทุกวันที่ประชุมผู้ปกครอง มีการประชาสัมพันธ์ โดยนักเรียนเป็นผู้ดำเนินการเองโดยแกนนำ พืชผัก เช่นผักบุ้ง ผักกาด มะเขื่อเทศ ผลไม้มะปราง ฯลฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
|
117 | 117 |
25. ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินออกค่าเปิดบัญชี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
|
3 | 3 |
26. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินดอกเบี้ยจากธนาคาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต (Output)
ดอกเบี้ย 48.96 บาท
|
3 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมของเกษตรและนำผลผลิตมาสนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดสารพิษ ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี 1. ภาวะอ้วน 6.42% 2.ภาวะผอม ไม่เกิน 9 3. ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 4 % 4. เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 5. มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 6. มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน |
ผลการประเมินตามตัวชี้วัด
|
|||
2 | เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการซื้อ ขาย ฝึกระเบียบวินัย การเลือกซื้อสิ่งบริโภคที่มีประโยชน์
และฝึกความซื่อสัตย์สุจริต ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส |
ผลการประเมินตามตัวชี้วัด
|
|||
3 | เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 2. จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40% |
การประเมินผล
ผลการประเมิน
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะฝึกปฏิบัติจริงในกิจกรรมของเกษตรและนำผลผลิตมาสนับสนุนอาหารกลางวันให้ นักเรียนได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดสารพิษ (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการซื้อ ขาย ฝึกระเบียบวินัย การเลือกซื้อสิ่งบริโภคที่มีประโยชน์ และฝึกความซื่อสัตย์สุจริต (3) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง
รหัสโครงการ ศรร.1112-016 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.16 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
๑. หนึ่งเมนู หนึ่งวงล้อ
๒. การเลี้ยงกบขวด - จัดหากบมาให้นักเรียนที่สนใจ ซื้อไปเลี้ยงที่บ้านโดยให้เลี้ยงในขวด ซึ่งนักเรียนและผู้ปกครองต้องคอยดูแลให้อาหารและทำความสะอาดขวด จนถึงเวลา ๓ เดือน จึงนำกบมาประกวดแข่งขันเพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการฝึกฝนตนเองให้มีความรับผิดชอบและมีวินัย
๑. นำวงล้อรถยนต์มาจัดทำเป็นกระถางปลูก โดยให้พิจารณาพืชที่นำมาปลูกให้มีความสอดคล้องกับเมนูอาหารที่จะผักที่ปลูกไปทำอาหารนั้นเด็กได้เรียนรู้การเลือกชนิดผักที่จะปลูกและขยายผลให้ผู้ปกครองไปปลูกที่บ้าน เอกสารหลักฐานการเรียนรู้รูปภาพ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
๒. การเลี้ยงกบขวด เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองโดยการให้อาหารสำเร็จรูปการเลี้ยงในขวดใช้เวลาน้อยกว่าเลี้ยงในบ่อแหล่งอ้างอิงรูปภาพและเอกสารวิธีการเลี้ยง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
เครือข่ายเด็กไทยฟันดี โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
ส่งเสริมโดยระบบเครือข่ายกลุ่มโรงเรียนและการมีส่วนของผู้ปกครองในการประเมินผลโดยมีสมุดบันทึกการแปรงฟันตอนเช้า หลังอาหารกลางวันก่อนนอน และติดตามผลโดยครู ผู้ปกครอง ตลอดถึงส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่บ้านด้วย นักเรียนทุกคนมีสมุดบันทึกการแปรงฟัน มีการย้อมสีฟัน เอกสารสำหรับการเรียนรู้ สมุดบันทึก สรุปผลการดำเนินงาน รูปภาพกิจกรรม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง
รหัสโครงการ ศรร.1112-016 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.16 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | ๑. หนึ่งเมนู หนึ่งวงล้อ ๒. การเลี้ยงกบขวด - จัดหากบมาให้นักเรียนที่สนใจ ซื้อไปเลี้ยงที่บ้านโดยให้เลี้ยงในขวด ซึ่งนักเรียนและผู้ปกครองต้องคอยดูแลให้อาหารและทำความสะอาดขวด จนถึงเวลา ๓ เดือน จึงนำกบมาประกวดแข่งขันเพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการฝึกฝนตนเองให้มีความรับผิดชอบและมีวินัย |
๑. นำวงล้อรถยนต์มาจัดทำเป็นกระถางปลูก โดยให้พิจารณาพืชที่นำมาปลูกให้มีความสอดคล้องกับเมนูอาหารที่จะผักที่ปลูกไปทำอาหารนั้นเด็กได้เรียนรู้การเลือกชนิดผักที่จะปลูกและขยายผลให้ผู้ปกครองไปปลูกที่บ้าน เอกสารหลักฐานการเรียนรู้รูปภาพ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน ๒. การเลี้ยงกบขวด เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองโดยการให้อาหารสำเร็จรูปการเลี้ยงในขวดใช้เวลาน้อยกว่าเลี้ยงในบ่อแหล่งอ้างอิงรูปภาพและเอกสารวิธีการเลี้ยง |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | เครือข่ายเด็กไทยฟันดี โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง |
ส่งเสริมโดยระบบเครือข่ายกลุ่มโรงเรียนและการมีส่วนของผู้ปกครองในการประเมินผลโดยมีสมุดบันทึกการแปรงฟันตอนเช้า หลังอาหารกลางวันก่อนนอน และติดตามผลโดยครู ผู้ปกครอง ตลอดถึงส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่บ้านด้วย นักเรียนทุกคนมีสมุดบันทึกการแปรงฟัน มีการย้อมสีฟัน เอกสารสำหรับการเรียนรู้ สมุดบันทึก สรุปผลการดำเนินงาน รูปภาพกิจกรรม |
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-016
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมานพ ภัคเนียรนาท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......