แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง ”
116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
หัวหน้าโครงการ
นายศักดิ์ชัย ไชยชนะ
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
ที่อยู่ 116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จังหวัด เชียงราย
รหัสโครงการ ศรร.1112-009 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง จังหวัดเชียงราย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง " ดำเนินการในพื้นที่ 116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย รหัสโครงการ ศรร.1112-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 221 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านหนองบัวแดง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 126 คน ชาย 56 คน หญิง 70คน มีภาวะโภชนาการ ภาวะสมส่วนร้อยละ 69.84ภาวะเริ่มอ้วนร้อยละ 13.49ภาวะค่อนข้างผอมผอมและผอมร้อยละ 12.7 และภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยร้อยละ 7.15เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพอนามัยและการจัดการด้านอาหารให้เด็กมีสุพภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณืสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะสามารถนำไปใช้ได้จริง
- เพื่อพัฒนารูปแบบของโรงเรียนในการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อขยายผลสู่ชุมชน/สังคมเพื่อให้เกิดกระแสการตื่นตัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดสาร สามารถขยายผลไปสู่ครอบครัวและชุมชน
- นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพการเลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ สามารถบริหารจัดการผลผลิตได้ครบวงจรและ สามารถขยายผลและนำผลผลิตไปใช้ในสัดส่วนที่ถูกต้อง
- นักเรียนมีบทบาทหน้าที่ในการจัดกิจกรรมมีภาวะผู้นำ ผู้ตามที่ดีและนักเรียนได้ฝึกลงบัญชีรายรับ รายจ่าย กำไร ขาดทุนได้
- นักเรียนและผู้ปกครองได้ฝึกทักษะอาชีพและได้รับอาหารกลางวันอาหารปลอดภัย ทำให้มีสุขภาพการเจริญเติบโตสมวัย
- นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพอนามัยและสามารถตรวจสุขภาพเบื้องต้นได้ถูกต้อง
- โรงเรียนมีรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ตามนโยบายการจัดการเรื่องอาหาร/ขนม/เครื่องดื่มในโรงเรียน สร้างนวัตกรรมผลงานและการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการด้านเกษตรโภชนาการ และสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การจัดห้องพยาบาล
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดปรับปรุงห้องพยาบาลให้มีความเหมาะสม น่าใช้ และมียาสำหรับบริการนักเรียนในเบื้องต้น กรณีไม่สบายหรือได้รับอุบัติเหตุ
115
106
2. การตรวจสุขภาพประจำวัน
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการตรวจสุขภาพประจำวันทุกวันโดยให้นักเรียนแกนนำเป็นผู้ตรวจโดยมีครูเวรประจำวันคอยควบคุมดูแลความเรียบร้อบ
135
116
3. ขยับกายไร้พุง
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมการออกกำลังกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนออกกำลังกายทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็น
115
121
4. การปลูกมะนาว
วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- อธิบายขั้นตอนการทำ
- สาธิตให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่าง
- นักเรียนทุกคนลงมือปฏิบัติของตนเอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ยั่งยืนและสามารถแก้ปัญหาได้
136
85
5. การปลูกกล้วยน้ำว้า
วันที่ 2 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนพร้อมกับผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนช่วยกันปลูกกล้วยน้ำว้าในโรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
136
222
6. การเลี้ยงปลา ครั้งที่ 1
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนแบ่งหน้าที่กันทำหน้าที่ในการดูแลและเอาอาหารให้ปลา
138
85
7. สุขาภิบาลอาหารในโรงครัวและโรงอาหาร
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้โรงครัวและโรงอาหารที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล
110
106
8. ป้ายสหกรณ์
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ป้ายสหกรณ์
0
0
9. การเพาะถั่วงอก
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้เพาะถั่วงอกเพื่อใช้ในอาหารกลางวันให้กับนักเรียน และนักเรียนสามารถเก็บความรู้ที่ได้ไปใช้ประกอบอาชีพที่บ้านได้
138
0
10. ป้ายปฏิบัติตนก่อนรับประทานอาหาร
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ป้ายปฏิบัติตนก่อนรับประทานอาหาร
2
0
11. ป้ายปฏิบัติตนหลังรับประทานอาหาร
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ป้ายปฏิบัติตนหลังรับประธานอาหาร
2
0
12. ป้ายปฏิบัติตนขณะรับประทานอาหาร
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ป้ายปฏิบัติตนขณะรับประธานอาหาร
2
0
13. การเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน โดยนำผลผลิตที่ได้ส่งขายให้กับสหกรณ์นักเรียนและจำหน่ายให้กับแม่ครัว หรือบุคลากรและผู้ปกครองนักเรียนต่อไป
238
106
14. อบรมให้ความรู้นักเรียน
วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนไดเขารับการอบรม การดําเนินงานของ สหกรณ ทุกคน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรูความเขาใจ ระบบสหกรณอยางถูกตอง
118
118
15. เมนูอาหารกลางวัน (โปรแกรม TSL)
วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำเมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม TSL
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้เมนูอาหารกลางวันหมุนเวียน 1 เดือน โดยใช้โปรแกรม TSL
10
10
16. สำรวจภาวะโภชนาการนักเรียน ครั้งที่1
วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สํารวจและติดตามภาวะ โภชนาการนักเรียน (อวน ,ผอม,สูง,เตี้ย)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ ดีขึ้น
141
121
17. ป้ายนิเทศ
วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้/คำแนะนำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ป้ายนิเทศให้ความรู้/คำแนะนำ
5
5
18. ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
3
3
19. อบรมครู บุคลากร และผู้ประกอบการอาหาร
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมทำความเข้าใจและให้ความรู้ เรื่อง การจัดเมนูอาหารสำหรับเด็กด้วยโปรแกรม TSL
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู และ บุคลากร รวมถึงผู้ประกอบการอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการใช้โปรแกรม TSL มากยิ่งขึ้น
25
20
20. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองให้รับความรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ยินดีให้ความร่วมมือและให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่
115
217
21. น้ำยาเอนกประสงค์
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การผลิตน้ำยาเอนกประสงค์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ ที่สามารถนำมาใช้ในร.ร.และสามารถนำไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนได้
25
25
22. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ชี้แจงรายละเอียดทำความเข้าใจและขอความเห็นชอบในการจัดกิจกรรมต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับความเห็นชอบในการดำเนินกิจกรรมต่างๆจากคณะกรรมการสถานศึกษา
25
25
23. สำรวจภาวะโภชนาการนักเรียน ครั้งที่ 2
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สํารวจและติดตามภาวะ โภชนาการนักเรียน (อวน ,ผอม,สูง,เตี้ย)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ ดีขึ้น
141
121
24. กิจกรรมปลูกผัก
วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมปลูกผักเพื่ออาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและคณะครูจัดกิจกรรมปลูกผักเพื่ออาหารกลางวัน และนำผลผลิตที่ได้ส่งเข้าสหกรณ์นักเรียนเพื่อสหกรณ์นักเรียนจัดจำหน่ายให้กับแม่ครัวที่ประกอบอาหาร
141
106
25. การเลี้ยงปลา ครั้งที่ 2
วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-นักเรียนแบ่งหน้าที่กันทำหน้าที่ในการดูแลและเอาอาหารให้ปลา
-นำปลาที่เลี้ยงไว้มาเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
120
0
26. ตลาดนัด
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดกิจกรรมตลาดนัด "กาดมั่วขายคัวนักเรียน"
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนนำผลผลิตของตนเอกออกมาจำหน่าย และนำเงินที่ได้ไปฝากกับธนาคารโรงเรียน
- โรงเรียนในเครือข่ายมาร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย
247
247
27. การจัดการขยะ
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อชุดถังขยะ จำนวน 1 ชุด
- จัดทำกรงสำหรับใส่ขวด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ชุดถังขยะ จำนวน 1 ชุด
- ได้กรงสำหรับใส่ขวด
5
5
28. อบรมนักเรียนแกนนำ
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนไดเขารับการอบรม เพื่อเปนนักเรียนแกนนํา จัด กิจกรรมใหนักเรียนไดออก กําลังกายทุกวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ไดนักเรียนแกนนําเพื่อดําเนิน กิจกรรมตางๆ
55
61
29. EM
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ EM ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในโรงเรียนได้
30
30
30. ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การทำปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนและครูได้ร่วมกันทำปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ
30
30
31. ค่ายเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดค่ายเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้ร่วมทำกิจกรรมและได้รับความรู้จากการจัดค่ายเด็กไทนแก้มใส
115
115
32. น้ำดื่มสะอาด
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อถังบรรจุน้ำและขวดบรรจุน้ำ สำหรับบรรจุน้ำดื่มเพื่อใช้ในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ถังบรรจุน้ำและขวดบรรจุน้ำ สำหรับบรรจุน้ำดื่มเพื่อใช้ในโรงเรียน
5
5
33. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
3
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพอนามัยและการจัดการด้านอาหารให้เด็กมีสุพภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณืสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะสามารถนำไปใช้ได้จริง
ตัวชี้วัด : 1. เด็กได้บริโภคอาหารถูกตามหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัยจากการจัดเมนูอาหารที่โรงเรียนได้จัดเตรีนมไว้ตลอดปีการศึกษา
2. การจัดทำสรุปรายงานภาวะโภชนาการนักเรียน
เด็กได้บริโภคอาหารถูกตามหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัยจากการจัดเมนูอาหารที่โรงเรียนได้จัดเตรีนมไว้ตลอดปีการศึกษา ร้อยละ 100
2
เพื่อพัฒนารูปแบบของโรงเรียนในการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. การประชุมครูบุคลากรและผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการดูแลและแก้ปัญหานักเรียนด้านภาวะโภชนาการ
2. จัดอบรมนักเรียนด้านสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยโดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้
3. จัดอบรมและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาหารในการประกอบอาหารที่สะอาดปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ
- การประชุมครูบุคลากรและผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการดูแลและแก้ปัญหานักเรียนด้านภาวะโภชนาการ ร้อยละ 95
- จัดอบรมนักเรียนด้านสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยโดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ ร้อยละ 90
- จัดอบรมและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาหารในการประกอบอาหารที่สะอาดปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ ร้อยละ 70
3
เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น การออกเยี่ยมบ้าน การทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
2. การประชุมชี้แจงผู้ปกครอง
3. การจัดและปรับระบบสุขาภิบาลในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัยและถูกสุขอนามัย
- การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น การออกเยี่ยมบ้าน การทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ร้อยละ 100
- การประชุมชี้แจงผู้ปกครอง ร้อยละ 90
- การจัดและปรับระบบสุขาภิบาลในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัยและถูกสุขอนามัย ร้อยละ 90
4
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อขยายผลสู่ชุมชน/สังคมเพื่อให้เกิดกระแสการตื่นตัว
ตัวชี้วัด : 1. จัดอบรมนักเรียนในเรื่องอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน
2. จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้
3. จัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน กรรมการสถานศึกษา และผู้นำชุมชน
จัดอบรมนักเรียนในเรื่องอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน ร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพอนามัยและการจัดการด้านอาหารให้เด็กมีสุพภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณืสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะสามารถนำไปใช้ได้จริง (2) เพื่อพัฒนารูปแบบของโรงเรียนในการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน (3) เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร (4) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อขยายผลสู่ชุมชน/สังคมเพื่อให้เกิดกระแสการตื่นตัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
รหัสโครงการ ศรร.1112-009 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.09 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเลี้ยงไก้ไข่
โรงเรียนมีการจัดทำโรงเรือน และจัดทำเป็นฐานการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เข้าไปศึกษาเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง นำผลผลิตส่งต่อโครงการอาหารกลางวันและจำหน่ายให้กับชุมชน
ขยายโรงเรือนและปรับปรุงบริเวรรอบๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
โรงเรียนจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชนเข้ามาศึกษาเรียนรู้และลงสู่การปฏิบัติ
จัดกิจสหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์การผลิตโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน บุคลากร และชุมชนโดยการนำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์ และส่งเสริมการโดยได้รับความร่วมมือจากธนาคาร ธกส. จนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนสหกรณ์ต้นแบบของ สพฐ.ปี2559
เปิดให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดเมนูอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม TSL
ทำเมนูอาหารหมุนเวียน 1 เดือน โดยเน้นคุณภาพและถูกหลักโภชนาการ
สำรวจความต้องการในการบริโภคอาหารของนักเรียนและนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนและอบรมให้ความรู้ในเรื่องของการบริโภคอาหาร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
มีการชั่งนำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน และนำผลมาสรุปในระดับชั้นเรียนและภาพรวมของโรงเรียน
ครูประจำชั้นทุกชั้นเรียนทำการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือน และสรุปข้อมูลส่งต่อให้ครูอนามัยโรงเรียนเพื่อสรุป้ป็นภาพรวมของโรงเรียน
จัดระบบดูเเลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
โรงเรียนมีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องสุขนิสัยที่ดี มีการจัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้กับนักเรียน และประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพื่อมาให้ความรู้และตรวจสุขภาพนักเรียน
จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
การจัดสภาพแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัย
มีบุคลากรรับผิดชอบดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหมู่สีให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาด้านอนามัย และสิ่งแวดล้อม
พัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่่างเป็นระบบและเอื้อต่อการจัดกิจกรรมโดยการมีส่วนร่วมกับทุกฝ่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง จังหวัด เชียงราย
รหัสโครงการ ศรร.1112-009
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายศักดิ์ชัย ไชยชนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง ”
116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
หัวหน้าโครงการ
นายศักดิ์ชัย ไชยชนะ
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จังหวัด เชียงราย
รหัสโครงการ ศรร.1112-009 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง จังหวัดเชียงราย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง " ดำเนินการในพื้นที่ 116 ม.12 ถ.บ้านเด่น-ท่าข้าวเปลือก ตำบลแม่ข้าวต้ม อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย รหัสโครงการ ศรร.1112-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 221 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านหนองบัวแดง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 126 คน ชาย 56 คน หญิง 70คน มีภาวะโภชนาการ ภาวะสมส่วนร้อยละ 69.84ภาวะเริ่มอ้วนร้อยละ 13.49ภาวะค่อนข้างผอมผอมและผอมร้อยละ 12.7 และภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยร้อยละ 7.15เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพอนามัยและการจัดการด้านอาหารให้เด็กมีสุพภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณืสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะสามารถนำไปใช้ได้จริง
- เพื่อพัฒนารูปแบบของโรงเรียนในการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อขยายผลสู่ชุมชน/สังคมเพื่อให้เกิดกระแสการตื่นตัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดสาร สามารถขยายผลไปสู่ครอบครัวและชุมชน
- นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพการเลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ สามารถบริหารจัดการผลผลิตได้ครบวงจรและ สามารถขยายผลและนำผลผลิตไปใช้ในสัดส่วนที่ถูกต้อง
- นักเรียนมีบทบาทหน้าที่ในการจัดกิจกรรมมีภาวะผู้นำ ผู้ตามที่ดีและนักเรียนได้ฝึกลงบัญชีรายรับ รายจ่าย กำไร ขาดทุนได้
- นักเรียนและผู้ปกครองได้ฝึกทักษะอาชีพและได้รับอาหารกลางวันอาหารปลอดภัย ทำให้มีสุขภาพการเจริญเติบโตสมวัย
- นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพอนามัยและสามารถตรวจสุขภาพเบื้องต้นได้ถูกต้อง
- โรงเรียนมีรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ตามนโยบายการจัดการเรื่องอาหาร/ขนม/เครื่องดื่มในโรงเรียน สร้างนวัตกรรมผลงานและการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการด้านเกษตรโภชนาการ และสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การจัดห้องพยาบาล |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดปรับปรุงห้องพยาบาลให้มีความเหมาะสม น่าใช้ และมียาสำหรับบริการนักเรียนในเบื้องต้น กรณีไม่สบายหรือได้รับอุบัติเหตุ
|
115 | 106 |
2. การตรวจสุขภาพประจำวัน |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการตรวจสุขภาพประจำวันทุกวันโดยให้นักเรียนแกนนำเป็นผู้ตรวจโดยมีครูเวรประจำวันคอยควบคุมดูแลความเรียบร้อบ
|
135 | 116 |
3. ขยับกายไร้พุง |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมการออกกำลังกาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนออกกำลังกายทั้งช่วงเช้าและช่วงเย็น
|
115 | 121 |
4. การปลูกมะนาว |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ยั่งยืนและสามารถแก้ปัญหาได้
|
136 | 85 |
5. การปลูกกล้วยน้ำว้า |
||
วันที่ 2 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนพร้อมกับผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนช่วยกันปลูกกล้วยน้ำว้าในโรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
|
136 | 222 |
6. การเลี้ยงปลา ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนแบ่งหน้าที่กันทำหน้าที่ในการดูแลและเอาอาหารให้ปลา
|
138 | 85 |
7. สุขาภิบาลอาหารในโรงครัวและโรงอาหาร |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้โรงครัวและโรงอาหารที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล
|
110 | 106 |
8. ป้ายสหกรณ์ |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ป้ายสหกรณ์
|
0 | 0 |
9. การเพาะถั่วงอก |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เพาะถั่วงอกเพื่อใช้ในอาหารกลางวันให้กับนักเรียน และนักเรียนสามารถเก็บความรู้ที่ได้ไปใช้ประกอบอาชีพที่บ้านได้
|
138 | 0 |
10. ป้ายปฏิบัติตนก่อนรับประทานอาหาร |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ป้ายปฏิบัติตนก่อนรับประทานอาหาร
|
2 | 0 |
11. ป้ายปฏิบัติตนหลังรับประทานอาหาร |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ป้ายปฏิบัติตนหลังรับประธานอาหาร
|
2 | 0 |
12. ป้ายปฏิบัติตนขณะรับประทานอาหาร |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ป้ายปฏิบัติตนขณะรับประธานอาหาร
|
2 | 0 |
13. การเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเลี้ยงไก่ไข่เพื่ออาหารกลางวัน โดยนำผลผลิตที่ได้ส่งขายให้กับสหกรณ์นักเรียนและจำหน่ายให้กับแม่ครัว หรือบุคลากรและผู้ปกครองนักเรียนต่อไป
|
238 | 106 |
14. อบรมให้ความรู้นักเรียน |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนไดเขารับการอบรม การดําเนินงานของ สหกรณ ทุกคน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรูความเขาใจ ระบบสหกรณอยางถูกตอง
|
118 | 118 |
15. เมนูอาหารกลางวัน (โปรแกรม TSL) |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำเมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม TSL ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เมนูอาหารกลางวันหมุนเวียน 1 เดือน โดยใช้โปรแกรม TSL
|
10 | 10 |
16. สำรวจภาวะโภชนาการนักเรียน ครั้งที่1 |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสํารวจและติดตามภาวะ โภชนาการนักเรียน (อวน ,ผอม,สูง,เตี้ย) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ ดีขึ้น
|
141 | 121 |
17. ป้ายนิเทศ |
||
วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้/คำแนะนำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ป้ายนิเทศให้ความรู้/คำแนะนำ
|
5 | 5 |
18. ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
3 | 3 |
19. อบรมครู บุคลากร และผู้ประกอบการอาหาร |
||
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมทำความเข้าใจและให้ความรู้ เรื่อง การจัดเมนูอาหารสำหรับเด็กด้วยโปรแกรม TSL ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู และ บุคลากร รวมถึงผู้ประกอบการอาหาร มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการใช้โปรแกรม TSL มากยิ่งขึ้น
|
25 | 20 |
20. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง |
||
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองให้รับความรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเด็กไทยแก้มใส ยินดีให้ความร่วมมือและให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่
|
115 | 217 |
21. น้ำยาเอนกประสงค์ |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ ที่สามารถนำมาใช้ในร.ร.และสามารถนำไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนได้
|
25 | 25 |
22. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำชี้แจงรายละเอียดทำความเข้าใจและขอความเห็นชอบในการจัดกิจกรรมต่างๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับความเห็นชอบในการดำเนินกิจกรรมต่างๆจากคณะกรรมการสถานศึกษา
|
25 | 25 |
23. สำรวจภาวะโภชนาการนักเรียน ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสํารวจและติดตามภาวะ โภชนาการนักเรียน (อวน ,ผอม,สูง,เตี้ย) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ ดีขึ้น
|
141 | 121 |
24. กิจกรรมปลูกผัก |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมปลูกผักเพื่ออาหารกลางวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและคณะครูจัดกิจกรรมปลูกผักเพื่ออาหารกลางวัน และนำผลผลิตที่ได้ส่งเข้าสหกรณ์นักเรียนเพื่อสหกรณ์นักเรียนจัดจำหน่ายให้กับแม่ครัวที่ประกอบอาหาร
|
141 | 106 |
25. การเลี้ยงปลา ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-นักเรียนแบ่งหน้าที่กันทำหน้าที่ในการดูแลและเอาอาหารให้ปลา -นำปลาที่เลี้ยงไว้มาเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
|
120 | 0 |
26. ตลาดนัด |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดกิจกรรมตลาดนัด "กาดมั่วขายคัวนักเรียน" ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
247 | 247 |
27. การจัดการขยะ |
||
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 5 |
28. อบรมนักเรียนแกนนำ |
||
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียนไดเขารับการอบรม เพื่อเปนนักเรียนแกนนํา จัด กิจกรรมใหนักเรียนไดออก กําลังกายทุกวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไดนักเรียนแกนนําเพื่อดําเนิน กิจกรรมตางๆ
|
55 | 61 |
29. EM |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ EM ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในโรงเรียนได้
|
30 | 30 |
30. ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการทำปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนและครูได้ร่วมกันทำปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ
|
30 | 30 |
31. ค่ายเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดค่ายเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้ร่วมทำกิจกรรมและได้รับความรู้จากการจัดค่ายเด็กไทนแก้มใส
|
115 | 115 |
32. น้ำดื่มสะอาด |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อถังบรรจุน้ำและขวดบรรจุน้ำ สำหรับบรรจุน้ำดื่มเพื่อใช้ในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ถังบรรจุน้ำและขวดบรรจุน้ำ สำหรับบรรจุน้ำดื่มเพื่อใช้ในโรงเรียน
|
5 | 5 |
33. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
3 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพอนามัยและการจัดการด้านอาหารให้เด็กมีสุพภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณืสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะสามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวชี้วัด : 1. เด็กได้บริโภคอาหารถูกตามหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัยจากการจัดเมนูอาหารที่โรงเรียนได้จัดเตรีนมไว้ตลอดปีการศึกษา 2. การจัดทำสรุปรายงานภาวะโภชนาการนักเรียน |
เด็กได้บริโภคอาหารถูกตามหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัยจากการจัดเมนูอาหารที่โรงเรียนได้จัดเตรีนมไว้ตลอดปีการศึกษา ร้อยละ 100 |
|||
2 | เพื่อพัฒนารูปแบบของโรงเรียนในการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. การประชุมครูบุคลากรและผู้ปกครองนักเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการดูแลและแก้ปัญหานักเรียนด้านภาวะโภชนาการ 2. จัดอบรมนักเรียนด้านสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยโดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ 3. จัดอบรมและให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาหารในการประกอบอาหารที่สะอาดปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ |
|
|||
3 | เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร ตัวชี้วัด : 1. การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น การออกเยี่ยมบ้าน การทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2. การประชุมชี้แจงผู้ปกครอง 3. การจัดและปรับระบบสุขาภิบาลในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัยและถูกสุขอนามัย |
|
|||
4 | เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อขยายผลสู่ชุมชน/สังคมเพื่อให้เกิดกระแสการตื่นตัว ตัวชี้วัด : 1. จัดอบรมนักเรียนในเรื่องอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน 2. จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้ 3. จัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน กรรมการสถานศึกษา และผู้นำชุมชน |
จัดอบรมนักเรียนในเรื่องอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน ร้อยละ 80 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพอนามัยและการจัดการด้านอาหารให้เด็กมีสุพภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณืสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะสามารถนำไปใช้ได้จริง (2) เพื่อพัฒนารูปแบบของโรงเรียนในการลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน (3) เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร (4) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อขยายผลสู่ชุมชน/สังคมเพื่อให้เกิดกระแสการตื่นตัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
รหัสโครงการ ศรร.1112-009 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.09 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเลี้ยงไก้ไข่
โรงเรียนมีการจัดทำโรงเรือน และจัดทำเป็นฐานการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เข้าไปศึกษาเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง นำผลผลิตส่งต่อโครงการอาหารกลางวันและจำหน่ายให้กับชุมชน
ขยายโรงเรือนและปรับปรุงบริเวรรอบๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
โรงเรียนจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชนเข้ามาศึกษาเรียนรู้และลงสู่การปฏิบัติ
จัดกิจสหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์การผลิตโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน บุคลากร และชุมชนโดยการนำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์ และส่งเสริมการโดยได้รับความร่วมมือจากธนาคาร ธกส. จนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนสหกรณ์ต้นแบบของ สพฐ.ปี2559
เปิดให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การจัดเมนูอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม TSL
ทำเมนูอาหารหมุนเวียน 1 เดือน โดยเน้นคุณภาพและถูกหลักโภชนาการ
สำรวจความต้องการในการบริโภคอาหารของนักเรียนและนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนและอบรมให้ความรู้ในเรื่องของการบริโภคอาหาร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
มีการชั่งนำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน และนำผลมาสรุปในระดับชั้นเรียนและภาพรวมของโรงเรียน
ครูประจำชั้นทุกชั้นเรียนทำการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือน และสรุปข้อมูลส่งต่อให้ครูอนามัยโรงเรียนเพื่อสรุป้ป็นภาพรวมของโรงเรียน
จัดระบบดูเเลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
โรงเรียนมีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องสุขนิสัยที่ดี มีการจัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้กับนักเรียน และประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพื่อมาให้ความรู้และตรวจสุขภาพนักเรียน
จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
การจัดสภาพแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัย
มีบุคลากรรับผิดชอบดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหมู่สีให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาด้านอนามัย และสิ่งแวดล้อม
พัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่่างเป็นระบบและเอื้อต่อการจัดกิจกรรมโดยการมีส่วนร่วมกับทุกฝ่าย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง
รหัสโครงการ ศรร.1112-009 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.09 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การเลี้ยงไก้ไข่ |
โรงเรียนมีการจัดทำโรงเรือน และจัดทำเป็นฐานการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เข้าไปศึกษาเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง นำผลผลิตส่งต่อโครงการอาหารกลางวันและจำหน่ายให้กับชุมชน |
ขยายโรงเรือนและปรับปรุงบริเวรรอบๆ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | โรงเรียนจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชนเข้ามาศึกษาเรียนรู้และลงสู่การปฏิบัติ |
จัดกิจสหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์การผลิตโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน บุคลากร และชุมชนโดยการนำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์ และส่งเสริมการโดยได้รับความร่วมมือจากธนาคาร ธกส. จนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนสหกรณ์ต้นแบบของ สพฐ.ปี2559 |
เปิดให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การจัดเมนูอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม TSL |
ทำเมนูอาหารหมุนเวียน 1 เดือน โดยเน้นคุณภาพและถูกหลักโภชนาการ |
สำรวจความต้องการในการบริโภคอาหารของนักเรียนและนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนและอบรมให้ความรู้ในเรื่องของการบริโภคอาหาร |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | มีการชั่งนำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน และนำผลมาสรุปในระดับชั้นเรียนและภาพรวมของโรงเรียน |
ครูประจำชั้นทุกชั้นเรียนทำการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือน และสรุปข้อมูลส่งต่อให้ครูอนามัยโรงเรียนเพื่อสรุป้ป็นภาพรวมของโรงเรียน |
จัดระบบดูเเลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | โรงเรียนมีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและส่งเสริมสุขภาพ |
โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องสุขนิสัยที่ดี มีการจัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้กับนักเรียน และประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพื่อมาให้ความรู้และตรวจสุขภาพนักเรียน |
จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | การจัดสภาพแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัย |
มีบุคลากรรับผิดชอบดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหมู่สีให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาด้านอนามัย และสิ่งแวดล้อม |
พัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่่างเป็นระบบและเอื้อต่อการจัดกิจกรรมโดยการมีส่วนร่วมกับทุกฝ่าย |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง จังหวัด เชียงราย
รหัสโครงการ ศรร.1112-009
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายศักดิ์ชัย ไชยชนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......