แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว ”
86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน
หัวหน้าโครงการ
นายสวาท ทองบ้านทุ่ม
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
ที่อยู่ 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ ศรร.1112-014 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.14
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว " ดำเนินการในพื้นที่ 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ศรร.1112-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 240 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านห้วยแฮ้ว จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
- นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
- เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน เป็นแหล่งอาหารและเป็นที่เรียนรู้ของชุมชน
- นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะในการดำเนินชีวิต
- พ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. สุขภาพดี ไม่มีพยาธิ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
- แจกกรรไกรตัดเล็บประจำห้องเรียนห้องละ 1 อัน
- ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียนในแต่ละชั้น ตรวจเล็บมือ เล็บเท้า ทรงผมของนักเรียนในชั้นตนเอง
- หากเล็บมือและเล็บเท้ายาวให้ทำการตัดเล็บมือ ให้เรียบร้อย โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด
- หากทรงผมผิดระเบียบ จะต้องส่งต่อให้ฝ่ายปกครอง เพื่อให้ตัดทรงผมให้ถูกระเบียบ โดยมีครูฝ่ายปกครองเป็นผู้ดูแล
- สำหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาจะมีการตรวจหาสารเสพติด โดยมีครูฝ่ายปกครองเป็นผู้ดำเนินการ
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีสุขภาพภายนอกที่สะอาดเรียบร้อย
- นักเรียนห่างไกลจากสิ่งเสพติด
147
137
2. ธนาคารขยะ
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- มอบหมายครูรับผิดชอบเพื่อดำเนินการ
- ชี้แจงนักเรียนที่ร่วมกิจกรรม
- จัดซื้อถังที่ถูกสุขลักษณะ
- นักเรียนแต่ละชั้นเรียนคัดแยกขยะของห้องเรียนตนเองเบื้องต้น
- นักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่ดำเนินการคัดแยกขยะอีกครั้ง
- นำขยะไปกำจัดให้ถูกวิธี
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สภาพแวดล้อมในโรงเรียนสะอาด
- นักเรียนรู้จักการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
147
139
3. ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียนเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสปี 2
- ทำหนังสือเชิญวิทยากรพร้อมประเด็น
- ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
- จัดทำสื่อประกอบการอบรม
- เตรียมอาหารและอาหารว่าง
- ดำเนินการอบรม
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับความรู้และทักษะในการดูแลอาหารที่ดีเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย เพื่อให้ลูกหลานมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตอย่างเต็มประสิทธิภาพ
80
97
4. แอโรบิค เพื่อสุขภาพ
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ตัวแทนนักเรียนร่วมกันจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์โครงการ และกิจกรรมต่างๆ โโยจะมีการเปลี่ยนข้อมูลให้อยู่เสมอ เดือนละ 1-2 ครั้ง
- นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายตามความสนใจของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย
- นักเรียนออกกำลังได้ถูกวิธีและเหมาะสมกับช่วงวัยของตนเอง
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
157
129
5. วัยใส ยิ้มสวย
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
- ครูประจำชั้นและหัวหน้านักเรียน ตรวจสุขภาพฟันเบื้องต้น
- นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกมื้อที่โรงเรียน
- ผู้ปกครองคอยดูแลเรื่องการแปรงฟันของนักเรียนที่บ้าน
- มีการจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการแปรงฟัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีสุขภาพฟัที่แข็งแรง
- ครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
277
139
6. คุณค่าสารอาหาร
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- รับสมัครตัวแทนนักเรียนในการดำเนินงานกิจกรรม
- จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับสารอาหารที่นักเรียนได้รับในแต่ละมื้อ
- นักเรียนในโรงเรียนสามารถศึกษาข้อมูลจากบอร์ดประชาสัมพันธ์
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
- ครูและนักเรียนได้รับความรู้เรื่องโภชนาการอาหารมากขึ้น
387
139
7. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนมัธยมศึกษา
วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
- ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
- ครูผู้รับผิดชอบโครงการ แบ่งกลุ่มนักเรียนยุวเกษตร เพื่อจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ให้แต่ละระดับชั้น
- ครูและนักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
- นักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันเพาะเมล็ดต้นอ่อนทานตะวัน
- แต่ละชั้นแบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
- เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวัน
- นำมาประกอบอาหารตามแต่ละเมนูของนักเรียนแต่ละระดับชั้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
- นักเรียนได้เกิดทักษะในการเรียนรู้การทำงานกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่
- นักเรียนมีความตื่นตัวในการทำงานร่วมกัน
- นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนบางคนที่ไม่รับประทานผัก หันมารับประทานต้นอ่อนทานตะวัน ร้อยละ 100
40
36
8. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ ครั้งที่ 1
วันที่ 10 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 1 ต้น
- เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
- ปลูกมะนาว 10 ต้น ในวันที่ 10 มิถุนายน 2559
- ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกัน
- นักเรียนได้รู้จักวิธีการปลูกและดูแลมะนาวในกระถาง
- นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ
147
23
9. ปลูกกล้วย
วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น เป็น 5 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบต้นกล้วยกลุ่มละ 1 ต้น
- เตรียมพื้นที่ในการปลูกกล้วย และเตรียมหน่อกล้วย โดยชาวบ้านในพื้นที่ให้หน่อกล้วยมาปลูกในโรงเรียน
- ปลูกกล้วย
- ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมนี้เกิดผลต่อครู นักเรียน และผู้ปกครอง ดังนี้
1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นกล้วย
2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน
277
137
10. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 1
วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทำหนังสือเชิญผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม
- จัดทำเอกสารและคู่มือการปลูกผักในครัวเรือน
- แจกเมล็ดพันธุ์ผักพร้อมคู่มือให้ผู้ปกครอง โดยวิธีการจับฉลาก ครัวเรือนละ 3 ชนิด
- ให้คณะกรรมการนักเรียนติดตามการปลูกผักสวนครัวที่บ้านของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครู นักเรียน และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้
- โครงการอาหารกลางวันได้ผักที่ปลอดสารพิษมาประกอบอาหารให้นักเรียนมากขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้วิธี และลงมือปฎิบัติด้วยตนเอง
174
190
11. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 1
วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
- เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
- ปลูกผัก คะน้า ผักชี
- ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
- เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
- ครูและนักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น
147
123
12. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 1
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนระดับชั้น ป.3-ป.6
- ได้รับพันธ์ุปลาจากกรมประมงจังหวัด
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อรับผิดชอบในการดูแลและให้อาหารปลา
- ดูแลปลานิลในสระ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้ืักษะการทำงานร่วมกัน
- นักเรียนได้รู้จักวิธีการดูแลปลา
- นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ
65
52
13. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ครั้งที่ 2
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็นระดับชั้น ป.5 เป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับผิดชอบมะนาวกลุ่มละ 2 ต้น
- เตรียมพื้นที่ในการปลูกมะนาว และเตรียมต้นกล้ามะนาว
- ปลูกมะนาว 10 ต้น ในวันที่ 1 กรกฏาคม 2559
- ดูแล รักษาต้นที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะการทำงานร่วมกัน
- นักเรียนได้รู้จักวิธีการปลูกและดูแลมะนาวในกระถาง
- นักเรียนได้ฝึกความรับผิดชอบ
147
17
14. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนประถมศึกษา
วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
- ครูแต่ละชั้นเรียนชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
- ครูผู้รับผิดชอบโครงการ แบ่งกลุ่มนักเรียนยุวเกษตร เพื่อจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ให้แต่ละระดับชั้น
- ครูและนักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
- นักเรียนแต่ละชั้นร่วมกันเพาะเมล็ดต้นอ่อนทานตะวัน
- แต่ละชั้นแบ่งหน้าที่กันดูแลต้นอ่อนทานตะวัน
- เก็บเกี่ยวต้นอ่อนทานตะวัน
- นำมาประกอบอาหารตามแต่ละเมนูของนักเรียนแต่ละระดับชั้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
- นักเรียนได้เกิดทักษะในการเรียนรู้การทำงานกลุ่ม และมีความรับผิดชอบในหน้าที่
- นักเรียนมีความตื่นตัวในการทำงานร่วมกัน
- นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนบางคนที่ไม่รับประทานผัก หันมารับประทานต้นอ่อนทานตะวัน ร้อยละ 100
100
139
15. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 2
วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
- เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
- ปลูกผัก
- ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
- เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ทักษะการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
- ครูและนักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น
147
123
16. ปลูกข้าวไร่
วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เกษตรอำเภอให้ความรู้เรื่องการปลูกข้าวไร่ให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
- นำเมล็ดพันธ์ข้าวมาให้ทางโรงเรียน
- เตรียมแปลงสำหรับปลูกข้าว
- นักเรียนและครูร่วมกันปลูกข้าวไร่
- ดูแลต้นข้าว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นข้าว
- ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
- มีความรักและสามัคคีในการทำงาน
- นักเรียนได้รับความรู้ในการปลูกข้าวไร่
35
38
17. ปลูกต้นหม่อน
วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- โครงการหม่อนไหมจังหวัดน่านนำต้นหม่อนมาให้กับทางโรงเรียน
- เตรียมพื้นที่สำหรับปลูกต้นหม่อน
- ปลูกต้นหม่อน
- ดูแลต้นหม่อน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นหม่อน
- ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
- มีความรักและสามัคคีในการทำงาน
0
17
18. ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ครูที่เกี่ยวข้องในงานโครงการ ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการโรงเรียนในการเข้าร่วมประชุม
- ครูเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว จากอำเภอสันติสุข จ.น่าน ในวันที่ 17 ตุลาคม 2559
- ครูเข้าพักที่โรงแรม JํY HOUSE จำนวน 1 คืน
- ครูเข้าร่วมประชุม เพื่อจัดทำเอกสารทางการเงิน และรายงานโครงการตามที่รับผิดชอบ
- แก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติมในส่วนที่ขาด
- เดินทางกลับจังหวัดน่าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้รับความรู้ในการจัดทำเอกสารทางการเงิน
- ได้รายงานความก้าวหน้าโครงการที่ครบถ้วนสมบูรณ์มากขึ้น
2
2
19. หัวจ๋า เหา ลาก่อน
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
- นักเรียนหญิงทุกคนสระผมด้วยแชมพูกำจัดเหาทุกวันศุกร์ เป็นเวลา 1 เดือน
- ทุกวันศุกร์แจกแชมพูกำจัดเหาให้นักเรียนไปสระที่บ้านเอง
- ครูและตัวแทนนักเรียนสำรวจเหาของนักเรียน
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีปริมาณเหาที่ลดลงจากเดิม
- นักเรียนมีความรับผิดชอบ และใส่ใจสุขภาพของตัวเองมากขึ้น
147
105
20. เพาะถั่วงอกอินทรีย์ประจำห้อง
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
- ครูผู้รับผิดชอบชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานให้นักเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบวางแผนการทำงาน
- ตัวแทนนักเรียนรับอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
- นักเรียนร่วมกันเพาะถั่วงอก
- แบ่งหน้าที่กันดูแลถั่วงอก
- เก็บเกี่ยวถั่วงอก
- นำถั่วงอกมาส่งให้โครงการอาหารกลางวันทำอาหาร และบางส่วนนำมาจำหน่ายให้กับคนที่สนใจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
- นักเรียนมีความภาคภูมิใจในการทำงาน
- นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
- นักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องวิธีการเพาะถั่วงอก
147
140
21. เพาะเห็ดฟางจากซังข้าวโพด
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีทักษะในการทำงาน
48
43
22. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 2
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ทานผักที่ปลอดสารพิษ
- ทางโรงเรียนลดภาระค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก
- ผู้ปกครองมีรายได้เสริม
0
50
23. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 2
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีทักษะในการทำงาน
139
43
24. อย.น้อย
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นอนุบาล
- จัดกลุ่มนักเรียนที่สนใจเป็นคณะทำงานจำนวน 10 คน เพื่อตรวจสอบ สำรวจลูกน้ำและยุงลายทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง
- นำผลการสำรวจมาแสดงให้นักเรียนในโรงเรียนทราบ
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีทักษะในหารทำงาน
- นักเรียนมีความกระตือรือร้น
- โรงเรียนไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
27
27
25. จำหน่ายและแลกเปลี่ยนผลผลิตทางเกษตร
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้ทานผักปลอดสารพิษ
- โรงเรียนประหยัดต้นทุนการซื้อผัก
- ชุมชนมีรายได้เสริม
287
0
26. จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูและนักเรียนในโรงเรียน
- ครูอนามัยโรงเรียนและตัวแทนนักเรียน สำรวจ และตรวจสุขภาพนักเรียนต้นและปลายภาคเรียน
- เมื่อพบนักเรียนที่มีสุขภาพผิดปกติ เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง ฟัน หู และตา ให้แจ้งครูประจำชั้น ครูอนามัยโรงเรียน รวมถึงผู้เกี่ยวข้องเกี่ยวกับสุขภาพนักเรียนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง
- ผู้ที่เกี่ยวข้องมาร่วมรักษาสุขภาพนักเรียน
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง
- โรงเรียนมีข้อมูลด้านสุขภาพที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง
270
242
27. ปลูกผักหมุนเวียนครั้งที่ 3
วันที่ 12 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ชี้แจงนักเรียนในโรงเรียน
- แบ่งกลุ่มนักเรียนระดับชั้นละ 2 แปลง เพื่อรับผิดชอบแปลงผักของตนเอง
- เตรียมแปลงผักและเมล็ดพันธ์ุผัก
- ปลูกผัก
- ดูแล รักษาผักที่ตัวเองรับผิดชอบอยู่เสมอ
- เมื่อได้ผลผลิตสามารถนำมาจำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีทักษะในการทำงาน
- นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
147
125
28. อบรมและศึกษาดูงานระบบสหกรณ์ให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 13 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะครูในโรงเรียน เรื่อง แนวทางในการดำเนินงาน
- คัดเลือกตัวแทนนักเรียนร่วมศึกษาดูงาน จำนวน 16 คน
- ศึกษาดูงานที่โรงเรียนธงชัยวิทยา จ.ลำปาง
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับแนวคิดและแนวความรู้ในการดำเนินงานจัดระบบงานสหกรณ์โรงเรียน และนำมาปรับใช้กับโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้วได้อย่างเหมาะสม
35
32
29. ปุ๋ยหมักอินทรีย์
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวการหมักปุ๋ยอินทรีย์
- มีปุ๋ยสำหรับรดต้อผัก
147
28
30. ครู นักเรียน แม่ครัว และคณะกรรมการโครงการ อบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน
- ทำหนังสือเชิญวิทยากรพร้อมประเด็น
- ทำหนังสือเชิญประชุมผู้ปกครองพร้อมประเด็น
- เตรียมอาหารและอาหารว่าง
- ดำเนินการอบรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏฺบัติ
โดยแบ่งหัวข้อเป็น 3 ประเด็นคือ
5.1 สุขภาพช่องปาก
5.2 สุขภาพร่างกาย
5.3 โรคติดต่อ
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้
- ผู้เข้ารับสามารถนำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตจริงได้
40
52
31. ครอบครัวสุขภาพดี
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ และแนวทางการนำไปปฏฺบัติใช้ในชีวิตประจำวัน
277
249
32. เปิดโลกวิชาการ สืบสานพระราชดำริและวิถีชุมชน โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงคณะครูในโรงเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน
- ครู นักเรียน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เตรียมงานและสถานที่ในการจัดกิจกรรม
- ภายในงานมีกิจกรรมเกี่ยวกับการดำเนินงานวิชาการ ของโรงเรียน กิจกรรมโครงการต่างๆ เปิดร้านขายของโดยนักเรียนเป็นผู้บริหารจัดการ มีการแสดงของนักเรียนหลายๆระดับ
- สรุปการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีทักษะการทำงาน
- นักเรียนกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้อง
- นักเรียนมีส่วนในการแสดงความคิดเห็น
- ชาวบ้านได้เห็นผลงานของลูกหลานตัวเอง
- สร้างความภาคภูมิใจให้นักเรียนและผู้ปกครอง
40
317
33. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
3
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น 40% โดยสังเกตุการณ์ร่วมกับผู้ปกครอง
2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดีขึ้น ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง
3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)
4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
2
เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานใน 8 กิจกรรม อยู่ในระดับ 4
2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
3. ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
3
เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- 1.1 ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 5 %
- 1.2 ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 5 %
- 1.3 ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ไม่เกิน 7%
- 1.3 เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 100-200 กรัม
2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- 2.1 มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน
- 2.2 โรงเรียนมีสินค้าเกษตรปลอดภัยป้อนเข้าสู่อาหารกลางวันในโรงเรียน
3.พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
4.ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง (2) เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร (3) เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
รหัสโครงการ ศรร.1112-014 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.14 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกข้าวไร่ พันธ์ุข้าวลืมผัว
การปลูกข้าวไร่ใช้เวลาในการปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 3-4 เดือน และไม่ต้องใช้น้ำปริมาณมาก ซึ่งเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของโรงเรียนและชุมชน
- ได้รับการสนับสนุนเมล็ดพันธู์ และวิธีการเพาะปลูกข้าวจากศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่
- จัดนักเรียนในการดับชั้นมธัยมศึกษาในการดำเนินงาน จำนวน 40 คน ครูและผู้ดูแลอีก 3 คน
- จัดเตรียมสถานที่ในการปลูกข้าว
- นักเรียนและครูลงมือปลูกข้าว
- นักเรียนผลัดเปลี่ยนกันดูแลข้าวที่ปลูก
- นักเรียนและครูลงมือเกี่ยวข้าว และนวดข้าวเอง
- แบ่งผลผลิตออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
-ส่วนที่ 1 ส่งคืนศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่
-ส่วนที่ 2 เก็บไว้เป็นพันธ์ุ เพือดำเนินงานในปีต่อไป
-ส่วนที่ 3 นำมารัปประทาน
นำเมล็ดพันธ์ที่เก็บไว้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
-ส่วนที่ 1 โรงเรียนดำเนินการปลูก
-ส่วนที่ 2 แจกให้ชาวบ้านที่สนใจนำไปปลูก เมื่อได้ผลผลิตให้นำส่งคืนโรงเรียนในอัตรา 1:2
เพื่อนำมาเป็นอาหารกลางวันนักเรียน และเก็บไว้ดำเนินงานในปีต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ ศรร.1112-014
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสวาท ทองบ้านทุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว ”
86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน
หัวหน้าโครงการ
นายสวาท ทองบ้านทุ่ม
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ ศรร.1112-014 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.14
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว " ดำเนินการในพื้นที่ 86 ม.13 ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ศรร.1112-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 240 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านห้วยแฮ้ว จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
- นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
- เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน เป็นแหล่งอาหารและเป็นที่เรียนรู้ของชุมชน
- นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะในการดำเนินชีวิต
- พ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการและสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. สุขภาพดี ไม่มีพยาธิ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 137 |
2. ธนาคารขยะ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 139 |
3. ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะครู ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับความรู้และทักษะในการดูแลอาหารที่ดีเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย เพื่อให้ลูกหลานมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตอย่างเต็มประสิทธิภาพ
|
80 | 97 |
4. แอโรบิค เพื่อสุขภาพ |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
157 | 129 |
5. วัยใส ยิ้มสวย |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
277 | 139 |
6. คุณค่าสารอาหาร |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
387 | 139 |
7. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนมัธยมศึกษา |
||
วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 36 |
8. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 10 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 23 |
9. ปลูกกล้วย |
||
วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมนี้เกิดผลต่อครู นักเรียน และผู้ปกครอง ดังนี้ 1. ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินการปลูกต้นกล้วย 2. ได้ผลผลิตที่ราคาไม่สูง แต่คุณภาพสูงและนำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย 3. มีความรักและสามัคคีในการทำงาน
|
277 | 137 |
10. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
174 | 190 |
11. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 123 |
12. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
65 | 52 |
13. ปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 17 |
14. เพาะเมล็ดทานตะวัน อินทรีย์ ประจำห้องเรียนประถมศึกษา |
||
วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
100 | 139 |
15. ปลูกผักหมุนเวียน ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 123 |
16. ปลูกข้าวไร่ |
||
วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
35 | 38 |
17. ปลูกต้นหม่อน |
||
วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 17 |
18. ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
2 | 2 |
19. หัวจ๋า เหา ลาก่อน |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 105 |
20. เพาะถั่วงอกอินทรีย์ประจำห้อง |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 140 |
21. เพาะเห็ดฟางจากซังข้าวโพด |
||
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
48 | 43 |
22. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 50 |
23. เลี้ยงปลานิล ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
139 | 43 |
24. อย.น้อย |
||
วันที่ 6 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
27 | 27 |
25. จำหน่ายและแลกเปลี่ยนผลผลิตทางเกษตร |
||
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
287 | 0 |
26. จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน |
||
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
270 | 242 |
27. ปลูกผักหมุนเวียนครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 12 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 125 |
28. อบรมและศึกษาดูงานระบบสหกรณ์ให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 13 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับแนวคิดและแนวความรู้ในการดำเนินงานจัดระบบงานสหกรณ์โรงเรียน และนำมาปรับใช้กับโรงเรียนบ้านห้วยแฮ้วได้อย่างเหมาะสม
|
35 | 32 |
29. ปุ๋ยหมักอินทรีย์ |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
147 | 28 |
30. ครู นักเรียน แม่ครัว และคณะกรรมการโครงการ อบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ |
||
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 52 |
31. ครอบครัวสุขภาพดี |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ และแนวทางการนำไปปฏฺบัติใช้ในชีวิตประจำวัน
|
277 | 249 |
32. เปิดโลกวิชาการ สืบสานพระราชดำริและวิถีชุมชน โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 317 |
33. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 31 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
3 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น 40% โดยสังเกตุการณ์ร่วมกับผู้ปกครอง 2. นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดีขึ้น ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3. ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) 4. นักเรียนประมาณ 80 % ของจำนวนเด็กในโรงเรียน ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส |
|
|||
2 | เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนมีระดับความสำเร็จของการดำเนินงานใน 8 กิจกรรม อยู่ในระดับ 4 2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 3. ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน |
|
|||
3 | เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีสุขภาพสุขภาวะ พัฒนาการด้านร่างกาย เติบโตสมวัย อารมณ์ สติปัญญาดีขึ้น รวมทั้งทักษะเพื่อการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง - 1.1 ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 5 % - 1.2 ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 5 % - 1.3 ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ไม่เกิน 7% - 1.3 เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 100-200 กรัม 2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียนได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ - 2.1 มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน - 2.2 โรงเรียนมีสินค้าเกษตรปลอดภัยป้อนเข้าสู่อาหารกลางวันในโรงเรียน 3.พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคนในชุชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 4.ชุมชน มีความตระหนักรู้ และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหารโภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเป็นโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง (2) เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการดูแลสุขภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร (3) เพื่อพัฒนาให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
รหัสโครงการ ศรร.1112-014 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.14 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกข้าวไร่ พันธ์ุข้าวลืมผัว
การปลูกข้าวไร่ใช้เวลาในการปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 3-4 เดือน และไม่ต้องใช้น้ำปริมาณมาก ซึ่งเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของโรงเรียนและชุมชน
- ได้รับการสนับสนุนเมล็ดพันธู์ และวิธีการเพาะปลูกข้าวจากศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่
- จัดนักเรียนในการดับชั้นมธัยมศึกษาในการดำเนินงาน จำนวน 40 คน ครูและผู้ดูแลอีก 3 คน
- จัดเตรียมสถานที่ในการปลูกข้าว
- นักเรียนและครูลงมือปลูกข้าว
- นักเรียนผลัดเปลี่ยนกันดูแลข้าวที่ปลูก
- นักเรียนและครูลงมือเกี่ยวข้าว และนวดข้าวเอง
- แบ่งผลผลิตออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
-ส่วนที่ 1 ส่งคืนศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่
-ส่วนที่ 2 เก็บไว้เป็นพันธ์ุ เพือดำเนินงานในปีต่อไป
-ส่วนที่ 3 นำมารัปประทาน
นำเมล็ดพันธ์ที่เก็บไว้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
-ส่วนที่ 1 โรงเรียนดำเนินการปลูก
-ส่วนที่ 2 แจกให้ชาวบ้านที่สนใจนำไปปลูก เมื่อได้ผลผลิตให้นำส่งคืนโรงเรียนในอัตรา 1:2
เพื่อนำมาเป็นอาหารกลางวันนักเรียน และเก็บไว้ดำเนินงานในปีต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว
รหัสโครงการ ศรร.1112-014 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.14 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การปลูกข้าวไร่ พันธ์ุข้าวลืมผัว |
การปลูกข้าวไร่ใช้เวลาในการปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 3-4 เดือน และไม่ต้องใช้น้ำปริมาณมาก ซึ่งเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของโรงเรียนและชุมชน
-ส่วนที่ 1 ส่งคืนศูนย์วิจัยข้าว จังหวัดแพร่ -ส่วนที่ 2 เก็บไว้เป็นพันธ์ุ เพือดำเนินงานในปีต่อไป -ส่วนที่ 3 นำมารัปประทาน |
นำเมล็ดพันธ์ที่เก็บไว้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน -ส่วนที่ 1 โรงเรียนดำเนินการปลูก -ส่วนที่ 2 แจกให้ชาวบ้านที่สนใจนำไปปลูก เมื่อได้ผลผลิตให้นำส่งคืนโรงเรียนในอัตรา 1:2 |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านห้วยแฮ้ว จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ ศรร.1112-014
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสวาท ทองบ้านทุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......