แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) ”
178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง
หัวหน้าโครงการ
นายพัฒนพงษ์ ฟูใจ
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)
ที่อยู่ 178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1111-018 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.18
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) " ดำเนินการในพื้นที่ 178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง รหัสโครงการ ศรร.1111-018 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 196 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ (วิทิตตานุกูล) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 2 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
- 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดีทางการเกษตร
- 3. เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
- นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคคิที่ดีทางการเกษตร
- นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีลักษณะนิสัยที่ดี
- นักเรียนมีสุขภาพภาวะช่องปากปลอดภัย
- นักเรียนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การประชุมผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ชี้แจ้งโครงการเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ประชุมชี้แจงครูเกี่ยวกับแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ และหัวข้อ การประชุม
-ทำหนังสือเชิญผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา พร้อมวาระการประชุมหรือประเด็น
-จัดเตรียมเอกสาร สือ อาหารและเครื่องดื่ม
-สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ผู้ปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาได้เสนอแนะในเรื่องต่างๆ พร้อมทั้งยินดีให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม/ โครงการ
- ผู้ปกครองมีการวางแผนการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆร่วมกับทางโรงเรียน
- ผู้ปกครองและคณะกรรมการชื่นชมและพร้อมให้การสนับสนุนในเรื่องกำลัง หรือความร่วมมือด้านอื่นๆ
115
82
2. อบรมชี้แจงการจัดการสหกรณ์นักเรียนและการออมทรัพย์
วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมให้ความรู้ในเรื่องการจัดการสหกรณ์นักเรียนและการออมทรัพย์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดการสหกรณ์นักเรียนและการออมทรัพย์
85
85
3. ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี
วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงคณะครู
ทำหนังสือเชิญวิทยากร ผู้ปกครอง คณะกรรมการ
ดำเนินการตามกิจกรรม
สรุปรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและรับรู้ ตระหนักถึงสารอันตรายที่ปนเปื้อนมาในอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดจนสามารถเลือกรับประทานอาหารแต่ละประเภทได้อย่างเหมาะสม รวมทั่้งสามารถเลือกซื้ออาหารที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับสะอาด ปลอดภัยได้อีกด้วย อีกทั้งสามารถรับประทานอารหารได้อย่างถูกสุขลักษณะ
68
132
4. อบรมการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำโึครงการเสนอเพื่ออนุมัติ
- ประสานคณะครู และวิทยากร
- ประชาสัมพันธ์นักเรียนให้เข้าใจในการอบรม
- ดำเนินการฝึกอบรม(ปฏิบัติกิจกรรมลงมือกระทำ)
- สรุป/ประเมินผลการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ แทนปุ๋ยเคมี เกิดความสามัคคี และมีประสบการณ์เรื่องการทำงานเป็นทีม สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ไปประชาสัมพันธ์แก่ผู้ปกครองได้
61
70
5. อบรมกินอย่างไรให้ถูกหลัก
วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
2.ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมการอบรม
3.เชิญวิทยากรมาให้ความรู้
4.นักเรียนเข้ารับการอบรมเพิ่มความรู้
5.สรุปกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ครู บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการกินอาหารที่ถูกสุขลักษณะและถูกหลักอนามัย
2.ครู บุคลากรและนักเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
102
91
6. ออมทรัพย์
วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงโครงการ
- จัดทำงานบันทึกการออมทรัพย์ของนักเรียนตลอดปีการศึกษา
- ดำเนินการจัดเก็บเงินออมของนักเรียนลงบัญชีการออมทรัพย์เป็นรายบุคคล เป็นรายวัน ตั้งแต่ชั้นอนุบาล ถึง ป.6
- สรุปรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เมื่อครบ 1 ปี เงินออมทรัพย์ของนักเรียนแต่ละคน จะถูกยกยอดไปไว้ในปีถัดไป และสามารถเบิกถอนได้เมื่อจบชั้น ป.6 หรือเมื่อยามจำเป็น
- นักเรียนตะหนักถึงความสำคัญของการประหยัดและอดออมมีเงินฝาก สามารถนำไปใช้ในยามจำเป็นได้ มีนักเรียนบางคนที่จำเป็นต้องใช้เงินให้ผู้ปกครองมาทำการเบิกถอนเงินไปใช้
94
94
7. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
บุคลากรได้เข้ารับการตรวจโครงการฯ และได้จัดทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บุคลากรมีความรู็ ความเข้าใจในการจัดทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรมสามารถทำได้อย่างถูกต้อง
2
2
8. สุขภาพดี ชีวีมีสุข
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำบันทึกการวัดน้ำหนัก ส่วนสูงเป็นประจำทุกเดือน
- จัดทำการบันทึกการดื่มนมของนักเรียน
- คัดแยกนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินด้านสุขภาพ เช่นน้ำหนักเกิน หรือน้ำหนักน้อย เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้ทราบผลการประเมินด้านสุขภาพ และมีการส่งเสริม แก้ปัญหาสำหรับนักเรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูง ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ให้มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข-3
94
94
9. ฟันสวยยิ้มใส
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- ดำเนินการตรวจการแปรงฟันของนักเรียนหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน ทุกคน
- สรุปผลและรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ทราบข้อมูลภาวะฟันผุของนักเรียน
- มีการแก้ปัญหาฟันโดยมีทันตกรรมมาดูแลและรักษาฟันผุของเด็กอย่างสม่ำเสมอ
- เด็กมีภาวะฟันผุลดลง
94
94
10. เก็บขยะในชุมชน
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงาน
- จัดแบ่งกลุ่มนักเรียน และกำหนดกิจกรรมตามแผน
- ดำเนินการเก็บขยะในชุมชนตามแผนการดำเนินงาน
- สรุปรายงานผลกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ทำให้ชุมชนมีความสะอาด สวยงาม เรียบร้อย น่าอยู่
76
76
11. อบรมการปลูกผักกางมุ้งปลอดสารพิษ
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการปลูกผักกางมุ้งให้เด็กได้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กมีความรู้ และได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับการปลูกผักกางมุ้ง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
30
30
12. กีฬาเพื่อสุขภาพ
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- วางแผนการดำเนินกิจกรรม
- ดำเนินการตามแผนการดำเนินงาน(เต้นแอโรบิคทุกวันพุธ จัดแข่งขันเทเบิ้ลเทนนิสและแบดมินตัน) จัดกิจกรรมทั้งหมด 4 ครั้ง ทุกวันพุธที่สามของเดือน
- สรุปผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์
- มีสุขภาพกายแข็งแรง และสุขภาพจิตดี ลดภาวะอ้วนในนักเรียน
102
94
13. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนในแต่ละเดือนตามโปรแกรม Thai School Lunch
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการจัดทำเมนู รายการอาหารตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School lunch
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้รับสารอาหารที่เหมาะสมแก่ร่างกาย
102
102
14. เลี้ยงสัตว์
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจง
- วางแผนการดำเนินงานและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- ดำเนินการเลี้ยงสัตว์ตามแผน โดยให้นักเรียนทำกิจกรรมเลี้ยงปลาดุกและจิ้งหรีดเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวันและจำหน่าย
- สรุปผลและรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จาากการดำเนินกิจกรรมเลี้ยงปลาดุกและจิ้งหรีดทำให้ได้นำผลผลิตปลาดุกไปประกอบอาหารกลางวันและจำหน่าย ส่วนจิ้งหรีดไม่ประสบผลสำเร็จเนื่องจากตาย
94
68
15. ส้วมสุขสันต์
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- วางแผนการดำเนินงานและปฏิบัติตามแผน โดยการปรับปรุุงสภาพห้องน้ำให้ถูกสุขลักษณะและมีความเหมาะสม
- จัดทำความสะอาดห้องน้ำเป็นประจำทุกวัน
- สรุปผลและรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- โรงเรียนมีห้องน้ำที่สะอาด ถูกสุขลักษณะและปลอดภัยจากเชื้อโรคต่าง ๆ
94
94
16. เยื่ยมชมการเกษตรในชุมชน
วันที่ 7 ธันวาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ครูสำรวจแหล่งพื้นที่เป้าหมาย
-แบ่งกลุ่มนักเรียน
-ศึกษาแหล่งพื้นที่เป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครูและนักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจในการทำกิจกรรมการเกษตรในชุมชน พร้อมทั้งทราบวิธีการทำการเกษตรให้ประสบผลสำเร็จ และจะนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวิตประจำวันทั้งในโรงเรียนและทางบ้าน
17
17
17. สหกรณ์นักเรียน
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประขุมชี้แจงกิจกรรมของสหกรณ์นักเรียนให้ครู นักเรียนทุกคนทราบว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง (มีการออม การซื้อ-ขายสินค้าจากกิจกรรมลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมเกษตร/ปศุสัตว์โรงเรียน )
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในการจัดการระบบสหกรณ์ นักเรียนตะหนักถึงความส าคัญของการออมเงินและได้เรียนรู้การซื้อ-ขายสินค้าจากกิจกรรมลดเวลาเรียน- เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมเกษตรและกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์
102
94
18. อย.น้อย
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- วางแผนการดำเนินงานและแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ
- ดำเนินการตามแผน
- สรุปและรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ ช่างสังเกต และแก้ปัญหา
- มีข้อมูลในด้านอาหารและสิ่งที่บริโภคในโรงเรียนสะอาดและปลอดภัย
- โรงเรียนได้รับรางวัล อ.ย.น้อยระดับดีมาก
23
23
19. ปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- วางแผนการดำเนินงานและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- ดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษ
- เก็บผลผลิตสู่อาหารกลางวันและส่งขาย
- สรุปรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้รับบความรู้และทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษไปใช้ในชีวิตประจำวัน ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการชื้อผัก และโรงเรียนมีผักปลอดสารพิษสู่อาหารกลางวันนักเรียนอย่างเพียงพอ
94
94
20. ศึกษาดูงานการทำเกษตรผสมผสาน
วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
- วางแผนการดำเนินการและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
- กำหนดสถานที่ที่จะศึกษาดูงาน
- ดำเนินการศึกษาดูงานตามแผนที่กำหนด
- สรุปและรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนได้เรียนรู้จากเกษตรกรโดยตรง ได้ไศึกษาดูงานการทำเกษตรผสมผสาน ได้รับความรู้และแนวทางการดำเนินการทางการเกษตรผสมผสานสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
12
36
21. จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน
- แต่งตั้งและมอบหมายผู้รับผิดชอบ
- ดำเนินการตามแผน
- สรุปผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีข้อมูลนักเรียนด้านสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
94
94
22. หัวปลอดเหา
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการตรวจเช็คคัดกรองนักเรียนที่เป็นเหา เพื่อดำเนินการรักษาทุกสัปดาห์ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และมีการอบรม ให้ความรู้ เรื่องการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหา
และทำการหมักเหาด้วยสมุนไพรธรรมชาติให้เด็กที่เป็นเหา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีจำนวนเด็กที่เป็นเหาลดลง เด็กรู้วิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการเป็นเหามากขึ้น
94
94
23. กลุ่มสี
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงโครงการ
- แต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มสี (ครูผู้ดูแลแต่ละกลุ่มสีและนักเรียนแต่ละกลุ่มสี)
- ดำเนินกิจกรรมตามแผน
- สรุปรายงานผลกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สภาพแวดล้อมในบริเวณโรงเรียนแต่ละจุดมีความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
76
76
24. ศึกษาดูงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคัดเลือกโรเรียนที่จะไปศึกษา
- กำหนดวัน เดือน เวลาที่จะไปศึกษาดูงาน
- ติดต่อประสานงานโรงเรียนที่ไปศึกษา
- ไปศึกษาดูงานและบันทึกความรู้ที่ได้รับ เพื่อนำมาสู่การปฏิบัติในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้บริหาร คณะครู ได้ไปศึกษาดูงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาใช้ในโรงเรียนเพื่อพัฒนาโรงเรียนสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรได้
8
8
25. เบิก-ถอน เงินเปิดบัญชี และดอกเบี้ย
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ไปถอนเงินค่าเปิดบัญชีพร้อมดอกเบี้ย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับคืนเงินเปิดบัญชี
3
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ร้อยละ 80
2
2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดีทางการเกษตร
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะทางด้านการเกษตรมากขึ้น
3
3. เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัด : 1.บุคลากรผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายร้อยละ100 มีความรู้ความเข้าใจการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (2) 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดีทางการเกษตร (3) 3. เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)
รหัสโครงการ ศรร.1111-018 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
- ผักกางมุ้ง
- การนำอาหารกลางวันที่เหลือมาเลี้ยงปลาดุก
- ประชุมครูนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่าย
-จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักเลี้ยงปลาเพาะเห็ดปลูกผัก เลี้ยงปลาและเพาะเห็ด-บันทึกการเจริญเติบโต
- เลี้ยงปลาดุกและปลูกผักปลอดสารพิษ เพาะเห็ดนางฟ้าในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
-
มีการสมัครสมาชิก-อบรมให้ความรู้-ดำเนินงานตามแผน
รับสมัครสมาชิกใหม่ในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
-มีการจัดทำเมนูอาหารประจำวันตามเมนูThai school lunch -ป้ายอาหารและสารอาหารเพื่อสุขภาพ -การบริโภคผักปลอดสารพิษ -อาหารกลางวันนักเรียนลดหวานมันเค็ม
- การประยุกต์อาหารพื้นบ้านกับเมนู Thai School Lunch
มีการอบรมแม่ครัวครูและนักเรียนแกนนำ-จัดทำเมนูอาหารสุขภาพ-จัดทำป้ายอาหารสุขภาพ-ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียน
พัฒนารายการอาหารและประกอบอาหารที่มีคุณภาพตามเมนูThai school lunchและตามเกณฑ์ของสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
- การบูรณาการกิจกรรม BBL กับการออกกำลังกาย
- แผนการตรวจสุขภาพและระยะเวลาการตรวจสุขภาพและการให้การฉีดวัคซีน
- มีการบันทึกการตรวจสุขภาพและสมรรถภาพนักเรียน
วางแผนการตรวจสุขภาพประจำปีและการฉีดวัคซีนกับเจ้าหน้าที่ก่อนเปิดภาคเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำ
อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำอบรมแม่ครัวด้านโภชนาการ
วางแผนดำเนินการต่อในปีการศึกษาและดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
-การปรับภูมิทัศน์ในโรงเรียน
ประชุมวางแผนเพื่อเตรียมงบประมาณวัสดุอุปกรณ์ระยะเวลาในการทำงานการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
วางแผนดำเนินการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1111-018
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายพัฒนพงษ์ ฟูใจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) ”
178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง
หัวหน้าโครงการ
นายพัฒนพงษ์ ฟูใจ
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1111-018 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.18
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) จังหวัดลำปาง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) " ดำเนินการในพื้นที่ 178 ม.4 ถ.วังซ้าย ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง รหัสโครงการ ศรร.1111-018 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 196 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ (วิทิตตานุกูล) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 2 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
- 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดีทางการเกษตร
- 3. เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
- นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคคิที่ดีทางการเกษตร
- นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีลักษณะนิสัยที่ดี
- นักเรียนมีสุขภาพภาวะช่องปากปลอดภัย
- นักเรียนพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การประชุมผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ชี้แจ้งโครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-ประชุมชี้แจงครูเกี่ยวกับแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ และหัวข้อ การประชุม -ทำหนังสือเชิญผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา พร้อมวาระการประชุมหรือประเด็น -จัดเตรียมเอกสาร สือ อาหารและเครื่องดื่ม -สรุปผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
115 | 82 |
2. อบรมชี้แจงการจัดการสหกรณ์นักเรียนและการออมทรัพย์ |
||
วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดการสหกรณ์นักเรียนและการออมทรัพย์
|
85 | 85 |
3. ครู แม่ครัว ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อบรมเรื่องคุณภาพอาหารและสุขลักษณะนิสัยที่ดี |
||
วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงคณะครู ทำหนังสือเชิญวิทยากร ผู้ปกครอง คณะกรรมการ ดำเนินการตามกิจกรรม สรุปรายงานผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น- ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและรับรู้ ตระหนักถึงสารอันตรายที่ปนเปื้อนมาในอาหารและเครื่องดื่ม ตลอดจนสามารถเลือกรับประทานอาหารแต่ละประเภทได้อย่างเหมาะสม รวมทั่้งสามารถเลือกซื้ออาหารที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับสะอาด ปลอดภัยได้อีกด้วย อีกทั้งสามารถรับประทานอารหารได้อย่างถูกสุขลักษณะ
|
68 | 132 |
4. อบรมการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ |
||
วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ แทนปุ๋ยเคมี เกิดความสามัคคี และมีประสบการณ์เรื่องการทำงานเป็นทีม สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ไปประชาสัมพันธ์แก่ผู้ปกครองได้
|
61 | 70 |
5. อบรมกินอย่างไรให้ถูกหลัก |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 2.ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมการอบรม 3.เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ 4.นักเรียนเข้ารับการอบรมเพิ่มความรู้ 5.สรุปกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ครู บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการกินอาหารที่ถูกสุขลักษณะและถูกหลักอนามัย
|
102 | 91 |
6. ออมทรัพย์ |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
94 | 94 |
7. นัดตรวจโครงการฯ ทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1 |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำบุคลากรได้เข้ารับการตรวจโครงการฯ และได้จัดทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรม งวดที่ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบุคลากรมีความรู็ ความเข้าใจในการจัดทำรายงานการเงินและรายงานกิจกรรมสามารถทำได้อย่างถูกต้อง
|
2 | 2 |
8. สุขภาพดี ชีวีมีสุข |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทำให้ทราบผลการประเมินด้านสุขภาพ และมีการส่งเสริม แก้ปัญหาสำหรับนักเรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูง ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ให้มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข-3
|
94 | 94 |
9. ฟันสวยยิ้มใส |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
94 | 94 |
10. เก็บขยะในชุมชน |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ทำให้ชุมชนมีความสะอาด สวยงาม เรียบร้อย น่าอยู่
|
76 | 76 |
11. อบรมการปลูกผักกางมุ้งปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการปลูกผักกางมุ้งให้เด็กได้มีความรู้และประสบการณ์ด้านการเกษตร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กมีความรู้ และได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับการปลูกผักกางมุ้ง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
30 | 30 |
12. กีฬาเพื่อสุขภาพ |
||
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
102 | 94 |
13. จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนในแต่ละเดือนตามโปรแกรม Thai School Lunch |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการจัดทำเมนู รายการอาหารตามโปรแกรมจัดสำรับอาหาร Thai School lunch ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้รับสารอาหารที่เหมาะสมแก่ร่างกาย
|
102 | 102 |
14. เลี้ยงสัตว์ |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจาากการดำเนินกิจกรรมเลี้ยงปลาดุกและจิ้งหรีดทำให้ได้นำผลผลิตปลาดุกไปประกอบอาหารกลางวันและจำหน่าย ส่วนจิ้งหรีดไม่ประสบผลสำเร็จเนื่องจากตาย
|
94 | 68 |
15. ส้วมสุขสันต์ |
||
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
94 | 94 |
16. เยื่ยมชมการเกษตรในชุมชน |
||
วันที่ 7 ธันวาคม 2559 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ-ครูสำรวจแหล่งพื้นที่เป้าหมาย -แบ่งกลุ่มนักเรียน -ศึกษาแหล่งพื้นที่เป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครูและนักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจในการทำกิจกรรมการเกษตรในชุมชน พร้อมทั้งทราบวิธีการทำการเกษตรให้ประสบผลสำเร็จ และจะนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวิตประจำวันทั้งในโรงเรียนและทางบ้าน
|
17 | 17 |
17. สหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประขุมชี้แจงกิจกรรมของสหกรณ์นักเรียนให้ครู นักเรียนทุกคนทราบว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง (มีการออม การซื้อ-ขายสินค้าจากกิจกรรมลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมเกษตร/ปศุสัตว์โรงเรียน ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนเกิดการเรียนรู้ในการจัดการระบบสหกรณ์ นักเรียนตะหนักถึงความส าคัญของการออมเงินและได้เรียนรู้การซื้อ-ขายสินค้าจากกิจกรรมลดเวลาเรียน- เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมเกษตรและกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์
|
102 | 94 |
18. อย.น้อย |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
23 | 23 |
19. ปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้รับบความรู้และทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษไปใช้ในชีวิตประจำวัน ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการชื้อผัก และโรงเรียนมีผักปลอดสารพิษสู่อาหารกลางวันนักเรียนอย่างเพียงพอ
|
94 | 94 |
20. ศึกษาดูงานการทำเกษตรผสมผสาน |
||
วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะครู นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนได้เรียนรู้จากเกษตรกรโดยตรง ได้ไศึกษาดูงานการทำเกษตรผสมผสาน ได้รับความรู้และแนวทางการดำเนินการทางการเกษตรผสมผสานสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
12 | 36 |
21. จัดระบบเฝ้าระวังและติดตามนักเรียน |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น- มีข้อมูลนักเรียนด้านสุขภาพที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
|
94 | 94 |
22. หัวปลอดเหา |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการตรวจเช็คคัดกรองนักเรียนที่เป็นเหา เพื่อดำเนินการรักษาทุกสัปดาห์ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และมีการอบรม ให้ความรู้ เรื่องการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหา และทำการหมักเหาด้วยสมุนไพรธรรมชาติให้เด็กที่เป็นเหา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีจำนวนเด็กที่เป็นเหาลดลง เด็กรู้วิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการเป็นเหามากขึ้น
|
94 | 94 |
23. กลุ่มสี |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสภาพแวดล้อมในบริเวณโรงเรียนแต่ละจุดมีความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ
|
76 | 76 |
24. ศึกษาดูงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร |
||
วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้บริหาร คณะครู ได้ไปศึกษาดูงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาใช้ในโรงเรียนเพื่อพัฒนาโรงเรียนสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรได้
|
8 | 8 |
25. เบิก-ถอน เงินเปิดบัญชี และดอกเบี้ย |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำไปถอนเงินค่าเปิดบัญชีพร้อมดอกเบี้ย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับคืนเงินเปิดบัญชี
|
3 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดีทางการเกษตร ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนร้อยละ 75 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะทางด้านการเกษตรมากขึ้น |
|
|||
3 | 3. เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัด : 1.บุคลากรผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายร้อยละ100 มีความรู้ความเข้าใจการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (2) 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดีทางการเกษตร (3) 3. เพื่อพัฒนาบุคลากร ผู้ปกครองแกนนำ และโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)
รหัสโครงการ ศรร.1111-018 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
- ผักกางมุ้ง
- การนำอาหารกลางวันที่เหลือมาเลี้ยงปลาดุก
- ประชุมครูนักเรียน เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและภาคีเครือข่าย
-จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการปลูกผักเลี้ยงปลาเพาะเห็ดปลูกผัก เลี้ยงปลาและเพาะเห็ด-บันทึกการเจริญเติบโต
- เลี้ยงปลาดุกและปลูกผักปลอดสารพิษ เพาะเห็ดนางฟ้าในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
-
มีการสมัครสมาชิก-อบรมให้ความรู้-ดำเนินงานตามแผน
รับสมัครสมาชิกใหม่ในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
-มีการจัดทำเมนูอาหารประจำวันตามเมนูThai school lunch -ป้ายอาหารและสารอาหารเพื่อสุขภาพ -การบริโภคผักปลอดสารพิษ -อาหารกลางวันนักเรียนลดหวานมันเค็ม
- การประยุกต์อาหารพื้นบ้านกับเมนู Thai School Lunch
มีการอบรมแม่ครัวครูและนักเรียนแกนนำ-จัดทำเมนูอาหารสุขภาพ-จัดทำป้ายอาหารสุขภาพ-ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียน
พัฒนารายการอาหารและประกอบอาหารที่มีคุณภาพตามเมนูThai school lunchและตามเกณฑ์ของสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
- การบูรณาการกิจกรรม BBL กับการออกกำลังกาย
- แผนการตรวจสุขภาพและระยะเวลาการตรวจสุขภาพและการให้การฉีดวัคซีน
- มีการบันทึกการตรวจสุขภาพและสมรรถภาพนักเรียน
วางแผนการตรวจสุขภาพประจำปีและการฉีดวัคซีนกับเจ้าหน้าที่ก่อนเปิดภาคเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำ
อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำอบรมแม่ครัวด้านโภชนาการ
วางแผนดำเนินการต่อในปีการศึกษาและดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
-การปรับภูมิทัศน์ในโรงเรียน
ประชุมวางแผนเพื่อเตรียมงบประมาณวัสดุอุปกรณ์ระยะเวลาในการทำงานการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
วางแผนดำเนินการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะในปีการศึกษาต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล)
รหัสโครงการ ศรร.1111-018 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | - |
มีการสมัครสมาชิก-อบรมให้ความรู้-ดำเนินงานตามแผน |
รับสมัครสมาชิกใหม่ในปีการศึกษาต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | -มีการจัดทำเมนูอาหารประจำวันตามเมนูThai school lunch -ป้ายอาหารและสารอาหารเพื่อสุขภาพ -การบริโภคผักปลอดสารพิษ -อาหารกลางวันนักเรียนลดหวานมันเค็ม - การประยุกต์อาหารพื้นบ้านกับเมนู Thai School Lunch |
มีการอบรมแม่ครัวครูและนักเรียนแกนนำ-จัดทำเมนูอาหารสุขภาพ-จัดทำป้ายอาหารสุขภาพ-ประเมินภาวะโภชนาการนักเรียน |
พัฒนารายการอาหารและประกอบอาหารที่มีคุณภาพตามเมนูThai school lunchและตามเกณฑ์ของสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพในปีการศึกษาต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
วางแผนการตรวจสุขภาพประจำปีและการฉีดวัคซีนกับเจ้าหน้าที่ก่อนเปิดภาคเรียน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำ |
อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำอบรมแม่ครัวด้านโภชนาการ |
วางแผนดำเนินการต่อในปีการศึกษาและดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | -การปรับภูมิทัศน์ในโรงเรียน |
ประชุมวางแผนเพื่อเตรียมงบประมาณวัสดุอุปกรณ์ระยะเวลาในการทำงานการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม |
วางแผนดำเนินการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะในปีการศึกษาต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านหลวงเหนือ(วิทิตตานุกูล) จังหวัด ลำปาง
รหัสโครงการ ศรร.1111-018
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายพัฒนพงษ์ ฟูใจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......