
ข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านบ้านร้องตลาด(ประชานุเคราะห์)
นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น (สูง ดี สมส่วน0
ข้อมูลภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นอนุบาล 2 - ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโป่งตีนตั่ง
นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นอนุบาล2 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านผาเวียง
ผลที่เกิดขึ้นคือ นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น (สูง ดี สมส่วน) เพิ่มมากขึ้น
13 สิงหาคม 2562 ครูผู้รับผิดชอบโครงการเชิญคณะครูโรงเรียนบ้านผาเวียงประชุมวางแผนการจัดทำกิจกรรมเด็กผาเวียงวิถีบริโภคดี ชีวีมีสุข
16 สิงหาคม 2562 จัดเตรียมสถานที่การอบรม ณ หอประชุมโรงเรียนบ้านผาเวียง
17 สิงหาคม 2562 จัดกิจกรรมการอบรม เด็กผาเวียง วิถีบริโภคดีชีวีมีสุข
- “เด็กผาเวียงแก้มใส ใส่ใจอาหาร5หมู่” โดย นายณัฐวัฒน์ วรรณชัย ครูโรงเรียนบ้านผาเวียง
- “ทานอย่างไร ให้ได้โภชนาการ” โดย นางสาวภัทรมน ใจยะมี ครูโรงเรียนบ้านผาเวียง
- “เด็กผาเวียงแก้มใส เลือกทาน รู้ประโยชน์” โดยคณะครูโรงเรียนบ้านผาเวียง โดยกิจกรรมนี้จะแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 12 กลุ่ม จากนั้นกำหนดเมนูอาหารให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ให้นักเรียนวิเคราะห์เมนูอาหารที่กลุ่มได้รับ ว่ามีวัตถุดิบใดบ้าง และวัตถุดิบในเมนูอาหารมีสารอาหารใดและให้ประโยชน์แก่ร่างกายอย่างไร และให้ตัวแทนกลุ่มออกมานำเสนอแผนผังความคิด
- เปิดโอกาสซักถามข้อสงสัย
- กล่าวสรุปกิจกรรม
1 กันยายน 2562 ติดตามผลการดำเนินโครงการครั้งที่ 1
1 ตุลาคม 2562 ติดตามผลการดำเนินโครงการครั้งที่ 2
1 พฤศจิกายน 2562 ติดตามผลการดำเนินโครงการครั้งที่ 3
จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ทำให้นักเรียนโรงเรียนบ้านผาเวียง มีความตระหนักในการรับประทานอาหาร โดยสังเกตได้ว่านักเรียนจะเลือกทานแต่อาหารที่มีประโยชน์ และจะทานขนมกรุบกรอบลดลง และนักเรียนยังสามารถบอกได้อีกว่าอาหารที่ทานไปมีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไร
ผลผลิต (Output) จากการจัดกิจกรรมนี้คือ นักเรียนได้รับความรู้เรื่องภาวะทางโภชนาการที่ดี (สูง ดี สมส่วน)
ผลลัพธ์ (Outcome) จากการจัดกิจกรรมนี้คือ
- นักเรียนมีความรู้เรื่องภาวะทางโภชนาการที่ดี (สูง ดี สมส่วน)
- นักเรียนนำความรู้เรื่องภาวะโภชนาการที่ดีไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนลดลง
ผลผลิต และผลลัพธ์ที่ได้เป็นที่พอใจมากของคณะครู และนักเรียนโรงเรียนบ้านผาเวียง จึงมีแผนต่อไปว่าครูและนักเรียนจะปฏิบัติเช่นนี้สม่ำเสมอ และจะช่วยกันนำความรู้ไปเผยแพร่ต่อไป
29 กรกฎาคม 2562 ครูผู้รับผิดชอบโครงการเชิญคณะครูตัวแทน โรงเรียนเครือข่าย และตัวแทนหมู่บ้านประชุมวางแผนการจัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างโรงเรียนบ้าน ชุมชน (ครั้งที่1)
5 สิงหาคม 2562 ครูผู้รับผิดชอบโครงการเชิญคณะครูตัวแทน โรงเรียนเครือข่าย และตัวแทนหมู่บ้านประชุมเพื่อกำหนดวันจัดกิจกรรมและการเตรียมสถานที่จัดกิจกรรม (ครั้งที่2)
6 สิงหาคม 2562 เชิญตัวแทนชุมชน นักเรียนแกนนำ ครูแกนนำจากโรงเรียนเครือข่ายเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม
7 สิงหาคม 2562 เชิญวิทยากรผู้ให้ความรู้จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล และเกษตรอำเภอศรีสัชนาลัย
9 สิงหาคม 2562 คณะกรรมการฝ่ายจัดเตรียมสถานที่จัดเตรียมสถานที่การอบรม
11 สิงหาคม 2562 จัดกิจกรรมการอบรม สร้างองค์ความรู้ร่วม โรงเรียน บ้าน ชุมชน โดยมีหัวข้อการอบรม
- "การสร้างเสริมโภชนาการในเด็กวัยเรียน"โดย นายธนากร เกื้อกูล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่สิน
- "การสร้างเสริมสุขภาวะที่ดีในโรงเรียนและชุมชน" โดย นางรินลดา เกื้อกูล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่สิน
- "เกษตรปลอดสารสู่อาหารปลอดภัยในโรงเรียน" โดย นายปฏิวัติ วงศ์รัตนธรรม เกษตรอำเภอศรีสัชนาลัย
- การแบ่งกลุ่มเพื่อเสวนาในหัวข้อ “แนวทางการร่วมกันสร้างเสริมโภชนาการ สุขภาวะ และอาหารปลอดภัยในโรงเรียนเครือข่าย”
- การนำสนอแนวทางแต่ละกลุ่ม
- กล่าวสรุปกิจกกรม
30 สิงหาคม 2562 ติดตามผลการดำเนินโครงการครั้งที่ 1
30 กันยายน 2562 ติดตามผลการดำเนินโครงการครั้งที่ 2
30 ตุลาคม 2562 ติดตามผลการดำเนินโครงการครั้งที่ 3
จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ทำให้เกิดแกนนำที่จะได้นำความรู้ที่ได้รับจาการอบรมคือ วิธีการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาของเด็กวัยเรียนและการสร้างพฤติกรรมเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะที่ดี รวมไปถึงวิธีการปลูกผักปลอดสารไปเผยแพร่ต่อ เช่นแกนนำชุมชนจะนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ต่อให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนรวมถึงครอบครัวตนเองและครอบครัวอื่นๆต่อไป แกนนำครูและนักเรียนในโงเรียนเครือข่ายจะนำความรู้ไปเผยแพร่ให้คนอื่นๆในโรงเรียนเครือข่ายเช่นเดียวกัน จึงทำให้เกิดผลผลิต (Output) คือ
1.นักเรียนและผู้ปกครองของโรงเรียนเครือข่ายได้รับความรู้เรื่อง โภชนาการ และการการจัดเกษตรปลอดภัย
2.ผู้ปกครองของครอบครัวต้นแบบจัดเมนูอาหารที่มีคุณภาพตามมาตรฐานโภชนาการ
และเกิด ผลลัพธ์ (Outcome) คือ
1. นักเรียนและผู้ปกครองของโรงเรียนเครือข่ายมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการ การจัดการเกษตรปลอดภัย และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
2. นักเรียนได้กินอาหารที่มีคุณภาพถูกหลักโภชนาการครบ 3 มื้อ
เมื่อผลลัพธ์ที่ได้เกิดกับตัวนักเรียนเองนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นตามลำดับทำให้แกนนำทุกฝ่าย และผู้ปกครองนักเรียนเกิดความพึงพอใจ แกนนำและชุมชนจึงมีแผนงานในการรวมกลุ่มเพื่อช่วยกันปลูกผักปลอดสารส่งขายให้แก่โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ รวมถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือโรงเรียนในการทำเกษตรปลอดสารในโรงเรียนทำให้โรงเรียนเครือข่ายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีผักปลอดสารมาประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน รวมไปถึงพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่บ้านผู้ปกครองจะทราบหลักการจัดอาหารให้ลูกหลานกินให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการมากที่สุดเท่าที่ผู้ปกครองจะทำได้
แผนงานต่อไปคือการขยายผลและกระจายความรู้ไปยังโรงเรียน ละชุมชนที่ยังไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรม
คืนดอกเบี้ยธนาคาร
คืนดอกเบี้ยธนาคารจำนวน 39.98 บาท
ประกอบด้วย
- จัดทำป้ายไวนิลกิจกรรมประกวดหนูน้อยสุขภาพสุขภาพดี - จัดทำอาหาร - จัดทำเกียรติบัตร
ครูผู้รับผิดชอบสามารถจัดบริการอาหารกลางให้ได้ปริมาณและสัดส่วนที่ถูกต้องตามมาตรฐาน นักเรียนได้รับปริมาณอาหารตามสัดส่วนที่ถูกต้อง
ผลลัพท์ : นักเรียนได้่รับประทานอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ มีน้ำหนักดี ได้สัดส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
-เก็บข้อมูลด้านสุขภาพ สมรรถภาพของนักเรียน -การประกวดเด็กดีมีสุขภาพดี
ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการดูแลสุขภาพ
ผลลัพท์ : ครู นักเรียน ผู้ปกครองมีสุขภาพพลานามัยที่ดี
บันทึกข้อความขออนุมัติใช้งบประมาณที่กำหนดไว้จัดซื้อถาดหลุมสำหรับนักเรียนเนื่องจากบุคลากรได้รับการอบรมร่วมกับ สพป.สท.2แล้ว จึงขออนุม้ติซื้อถาดหลุมเพื่อให้นักเรียนได้รับบริการอาหารกลางวันอย่างถูกสุขลักษณะและก่อให้เกิดสุขภาพที่ดีแก่นักเรียนต่อไป
ครูผู้รับผิดชอบสามารถจัดบริการอาหารกลางให้ได้ปริมาณและสัดส่วนที่ถูกต้องตามมาตรฐาน นักเรียนได้รับปริมาณอาหารตามสัดส่วนที่ถูกต้อง
ผลลัพท์ : นักเรียนได้่รับประทานอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ มีน้ำหนักดี ได้สัดส่วนตามเกณฑ์มาตรฐานและนักเรียนได้รับบริการอาหารกลางวันอย่างถูกสุขลักษณะและก่อให้เกิดสุขภาพที่ดีต่อไป
ประกอบด้วย
ปรับปรุงโต๊ะอาหาร - จัดทำป้ายโภชนาการ - ปรับปรุงปลั๊กไฟ หลอดไฟ - จัดทำที่เก็บวัสดุงานครัวในห้องประกอบอาหาร
ครู นักเรียน ได้มีห้องน้ำที่สะอาดใช้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ มีระบบการจัดการน้ำดื่ม น้ำใช้ที่ได้มาตรฐาน มีสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะ
ผลลัพท์ : โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลที่ถูกสุขลักษณะ

1. ทำป้ายไวนิลเกี่ยบกับสุขภาพอนามัย 2. วิทยากรจาก รพ.สต.บ้านสะท้อให้ความรู้แก่ ครู นักเรียน 3. จัดทำระบบเอกสารด้านสุขภาพอนามัย
ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการดูแลสุขภาพ
ผลลัพท์ : ครู นักเรียน ผู้ปกครองมีสุขภาพพลานามัยที่ดี
จัดทำเมนูอาหารในแต่ละวัน - ทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับเมนูอาหารของแต่วัน
ครูผู้รับผิดชอบสามารถจัดบริการอาหารกลางให้ได้ปริมาณและสัดส่วนที่ถูกต้องตามมาตรฐาน นักเรียนได้รับปริมาณอาหารตามสัดส่วนที่ถูกต้อง
ผลลัพท์ : นักเรียนได้่รับประทานอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ มีน้ำหนักดี ได้สัดส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
: ประชุมคณะครู จัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ครูมีการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการกิจกรรมด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ
ผลลัพท์ : ครู นักเรียน ชุมชน รู้และเข้าใจการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานแต่ละกิจกรรมในโครงการเด็กไทยแก้มใส - เว็บไซต์ - แผ่นพับ - ป้ายไวนิล
ครูมีการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการกิจกรรมด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ
ผลลัพท์ : ครู นักเรียน ชุมชน รู้และเข้าใจการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
ได้จัดทำกรงคัดแยกขยะ เพื่อจัดการขยะในโรงเรียน เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยและความสะอาดในบริเวณโรงอาหาร และการจัดระบบน้ำดื่มให้กับนักเรียน
ครู นักเรียน ได้มีห้องน้ำที่สะอาดใช้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ มีระบบการจัดการน้ำดื่ม น้ำใช้ที่ได้มาตรฐาน มีสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะ
ผลลัพท์ : โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลที่ถูกสุขลักษณะ
-การชั่งน้ำหนักและววัดส่วนสูง -การใช้โปรแกรมเฝ้าระวังฯ -การตรวจสุขภาพทุกภาคเรียน -การประเมินสุขภาพเด็กทุกภาคเรียน -กิจกรรมส่งเสริมกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ -กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร -การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการดูแลสุขภาพ
ประกอบด้วย

- ประชุมทำความเข้าใจคณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้ง/วางแผนดำเนินการ 2. ดำเนินการจัดทำหลักสูตรบูรณาการกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กับกิจการสหกรณ์นักเรียน
ครู นักเรียน คณะทำงานได้มีความรู้ และจัดทำหลักสูตรบูรณาการกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯในเรื่องสหกรณ์ มีสหกรณ์การเกษตรนักเรียนในการรับและจำหน่ายวัตถุดิบจากกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร
ผลลัพท์ : โรงเรียนมีการดำเนินงานด้านสหกรณ์การเกษตรนักเรียนอย่างเป็นระบบ และคณะทำงานมีความรู้ในการดำเนินงาน
กิจกรรมกีฬาสี กีฬาเครือข่าย -การเต้นแอโรบิก -การปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ -การจัดกิจกรรมBBLก่อนเข้าเรียน -กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการดูแลสุขภาพ
-ปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของห้องน้ำห้องส้วม -ประกวดมอบรางวัลส้วมสุขสันต์
-กิจกรรมจิตอาสาผาเวียง
-.การพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมและอาคาร ในสถานศึกษา
ครู นักเรียน ได้มีห้องน้ำที่สะอาดใช้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ มีระบบการจัดการน้ำดื่ม น้ำใช้ที่ได้มาตรฐาน มีสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ถูกสุขลักษณะ
ผลลัพท์ : โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลที่ถูกสุขลักษณะ
-ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 ขอเบิกเงินที่ 2 ณ โรงแรมเดอะปาร์ค เชียงใหม่
- จัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 ขอเบิกเงินที่ 2
ประกอบด้วย
- เชิญวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ จาก สนง.เกษตรและสหกรณ์สุโขทัย
- ฝึกปฏิบัติในการทำบัญชี รายรับ - รายจ่่่ายของสหกรณ์ และงานสหกรณ์อื่นๆ
-นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับระบบของสหกรณ์ การจัดทำบัญชี รายรับ รายจ่าย -นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการนำความรู้ที่ได้มาปฏิบัติงานในการดำเนินงานสหกรณ์ได้
ประกอบด้วย
- จัดทำป้ายไวนิลเกี่ยวกับสหกรณ์/ปรับปรุงบริเวณสหกรณ์ร้านค้า
- จัดทำระบบเอกสารสหกรณ์ให้ถูกต้องเป็นปัจจุบัน
- ดำเนินการรับซื้อ - ขายวัสดุเพื่ออาหารกลางวัน
-โรงเรียนบ้านผาเวียง มีวัตถุดิบเพื่อทำอาหารกลางวันจากกิจกรรมทั้งหมดแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักการของสหกรณ์นักเรียน และสามารถผลิตอาหารเพื่อสุขภาพออกจำหน่ายแก่สมาชิกสหกรณ์ได้ นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนและจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่ายได้ถูกต้อง -โรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง ร่วมมือกันดำเนินงานตามกิจกรรม ให้เกิดรายได้ และอาชีพ และนำหลักการของสหกรณ์ไปใช้ในชีวิตจริงได้
ประกอบด้วย

-จัดอบรมให้ความรู้นักเรียนในการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
- เตรียมสถานที่ในการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่
- การจัดทำรายรับรายจ่ายต่างๆในกิจกรรมการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ จำนวน 40 ตัว รายละเอียดกิจกรรมให้ความรู้นักเรียนในการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ นักเรียนเลี้ยง และดูแลไก่พันธุ์ไข่ ตลอดจนนำไข่ไปจำหน่ายให้กับโรงอาหารโดยผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน การจัดทำรายรับรายจ่ายต่างๆในกิจกรรมการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่
ประกอบด้วย

ผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ อาทิ น้ำยาล้างจาน น้ำยาล้างห้องน้ำ น้ำยาถูพื้น ฯลฯ รายละเอียดกิจกรรมให้ความรู้นักเรียนในการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ ตลอดจนการบรรจุผลิตภัณฑ์ลงในบรรจุภัณฑ์ นักเรียนนำน้ำยาเอนกประสงค์ไปจำหน่ายให้กับโรงเรียนโดยผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน การจัดทำรายรับรายจ่ายต่างๆในกิจกรรมการผลิต
-นักเรียนได้เรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติจริงในการทำน้ำยาล้างจาน และน้ำยาล้างห้องน้ำ - นักเรียนได้รับความรู้ และสามารถทำน้ำยาล้างจาน และน้ำยาล้างห้องน้ำได้ - จำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้กับร้านค้าสหกรณ์ในโรงเรียน
ประกอบด้วย

เพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน จำนวน 400 ก้อน รายละเอียดกิจกรรมให้ความรู้นักเรียนในการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน และดูแลรักษา ตลอดจนการเก็บผลผลิต(ดอกเห็ด) นักเรียนดูแลเห็ดนางฟ้านางฟ้าภูฐาน และนำดอกเห็ดไปจำหน่ายให้กับโรงอาหารโดยผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน การจัดทำรายรับรายจ่ายต่างๆในกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน
- นักเรียนได้เรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติจริงในการเพาะเห็ดนางฟ้า จำนวน 400 ก้อน
- นักเรียนมีความรู้ และสามารถเพาะเห็ดนางฟ้าได้
- มีเห็ดนางฟ้าเพียงพอสำหรับจำหน่ายให้กับโรงอาหารโดยผ่านร้านค้าสหกรณ์การเกษตรในโรงเรียน และนักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีเห็ดนางฟ้าเป็นส่วนประกอบ
ประกอบด้วย

ปลูกผักสวนครัว อาทิ ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ผักชี ฯลฯ รายละเอียดกิจกรรม ให้ความรู้นักเรียนในปลูกผัก และดูแลรักษา ตลอดจนการเก็บผลผลิต นักเรียนปลูก ดูแล และนำผักไปจำหน่ายให้กับโรงอาหารโดยผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน การจัดทำรายรับรายจ่ายต่างๆในกิจกรรมการปลูกผักสวนครัว
- นักเรียนได้เรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติจริงในการปลูกผักสวนครัว
- นักเรียนมีความรู้ และสามารถปลูกผักสวนครัวได้
- มีผักสวนครัวเพียงพอสำหรับจำหน่ายให้กับโรงอาหารโดยผ่านร้านค้าสหกรณ์การเกษตรในโรงเรียน และนักเรียนทุกคนได้รับประทานผักทุกวัน
ประกอบด้วย

เลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง แม่พันธุ์พ่อพันธุ์จำนวน 5 คู่ รายละเอียดกิจกรรมให้ความรู้นักเรียนในการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง นักเรียนเลี้ยง และดูแลไก่พันธุ์พื้นเมือง ตลอดจนนำไก่ไปจำหน่ายให้กับโรงอาหารโดยผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนการจัดทำรายรับรายจ่ายต่างๆในกิจกรรมการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง
- นักเรียนได้เรียนรู้ และได้ลงมือปฏิบัติจริงในการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมือง โดยใช้พ่อพันธุ์ แม่พันธุ์ จำนวน 4 คู่
- นักเรียนมีความรู้ และสามารถเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นเมืองได้
- มีไก่เพียงพอสำหรับจำหน่ายให้กับโรงอาหารโดยผ่านร้านค้าสหกรณ์การเกษตรในโรงเรียน และนักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารที่มีเนื้อไก่เป็นส่วนประกอบ
ประกอบด้วย

สร้างภาคีเครือข่ายกับชุมชน ช่วยป้อนวัตถุดิบสู่โรงอาหารโดยผ่านระบบสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน รายละเอียดกิจกรรม นำกลุ่มตัวแทนนักเรียนในแต่ละช่วงชั้นไปเรียนรู้งานเกษตรในชุมชน นักเรียนตัวแทนนำมาเผยแพร่สู่เพื่อนนักเรียนในโรงเรียน ชี้แจงและขอความร่วมมือกับชุมชนในการส่งวัตถุดิบให้กับโรงเรียน
- ชุมชนได้มีร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตร
- ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตวัตถุดิบเพื่อใช้ในการประกอบอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ
ประกอบด้วย
ปรับปรุงศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง รายละเอียดกิจกรรม นักเรียน ครู ร่วมกับชุมชน ได้ซ่อมแซมหลังคาโรงเรือนต่างๆในแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนปรับภูมิทัศน์ในแหล่งการเรียนรู้ให้สะดวกและเหมาะสมกับผู้ใช้อีกด้วย
- แหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรได้มีการพัฒนาและจัดเป็นระบบและเป็นสัดส่วนมากขึ้น
- แหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรมีบรรยากาศดีและน่าสนใจมากขึ้น
ประกอบด้วย