แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนวัดนากลาง ”
90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์
หัวหน้าโครงการ
นายเบญจวิทย์ ตีระมาตย์
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนวัดนากลาง
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดนากลาง
ที่อยู่ 90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ ศรร.1112-029 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.29
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดนากลาง จังหวัดนครสวรรค์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดนากลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดนากลาง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดนากลาง " ดำเนินการในพื้นที่ 90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ รหัสโครงการ ศรร.1112-029 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดนากลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 335 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดนากลางจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการเพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
- เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการ
ดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริม
สุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและ
ความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการทำนาข้าวและการผลิตข้าวกล้องการเรียนรู้สู่ชุมชน ครั้งที่ 1
วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อพันธ์ุข้าวไร้เบอร์รี่150 กก.
- ดำนาโดยใช้รถไถ เดือน กรกฎาคม ใช้เวลา 3 ชั่วโมง จำนวน 2 งาน
- เด็กนักเรียนจำนวน 50 คน และครู 5 คน ดำเนินการถอนหญ้าและวัชพืช ในแปลงนาของโรงเรียน จำนวน 2 งาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการทำนาข้าวไร้เบอร์รี่ ในแปลงนาของโรงเรียนจำนวน 2 งาน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลต้นข้าวโดยการกำจัดวัชพืชในแปลงนาเพื่อให้ต้นข้าวสามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชในแปลงนาข้าวนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำนาข้าวแบบอินทรี
285
60
2. กิจกรรมการเพาะเห็ดฮังการี่1
วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุม วางแผน การดำเนินการเพาะเห็ด วันที่ 2 กรกฎาคม 59
2. จัดซื้อก้อนเห็ดฮังการี่ จำนวน 600
3. ครูวันชัย กิจกำรูญ ครูผู้สอนนักเรียนชั้น ป.6 ได้จัดการเรียนรู้การเพาะเห็ดฮังการี่ให้กับนักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 21 คน โดยมีเนื้อหาดังนี้
3.1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเห็ดการวางก้อนเชื้อในลักษณะแนวนอนโดยวางเรียงต่อกันเป็นแนวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ
3.2.การเปิดดอก โดยเปิดจุกและสำลีจากคอขวดออกและพับปากถุงให้เหมือนเดิมกับตอนที่ยังมีจุกคอขวดอยู่เพื่อจะทำให้เก็บดอกเห็ดได้ง่าย
3.3.การรดน้ำ ควรพ่นให้ผิวหน้าของก้อนเชื้อชื้นก็พอ เพราะจะทำให้ก้อนเชื้อมีเชื้อราจะเน่าเสียเร็ว การรดน้ำประมาณวันละ 3-4 ครั้งแล้วแต่สภาพอากาศ
3.4.การเก็บดอกเห็ดและการทำความสะอาดหน้าก้อนเห็ด เมื่อเห็ดออกดอกและบานจนได้ขนาดที่ต้องการแล้วเก็บดอกโดยจับที่โคนดอกทั้งช่อโยกซ้ายขวาบนล่างแล้วดึงออกจากถุงเห็ด ระวังอย่าให้ถุงเห็ดบาน ถ้าโคนเห็ดขาดอยู่ให้แคะออกเพื่อป้องกันการเน่าเสีย การทำความสะอาดก้อนเชื้อทำได้โดยเขี่ยเศษเห็ดที่ติดอยู่ข้างในถุงออกให้หมด และงดให้น้ำ 3 วันถ้าก้อนเห็ดมีเชื้อราให้นำออกทันที
3.5.ส่งผลผลิตที่ได้สู่โรงอาหารในโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.นักเรียนระดับชั้น ป.6 จำนวน21คน มีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดฮังการี่
2.นักเรียนระดับชั้น ป.6 จำนวน21คน นำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
3.นักเรียนจำนวน141 คน เป็นแกนนำในการให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในเรื่องการเพาะเห็ดฮังการี่ได้
ผลผลัพธ์
1.โรงเรียนวัดนากลางมีแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ดฮังการี่ให้กับโรงเรียน และชุมชน
2.โรงเรียนวัดนากลางมีผลผลิตเห็ดฮังการี่นำไปใช้ประกอบอาหารในโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทั้งโรงเรียน
3.โรงเรียนวัดนากลางสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการกิจกรรมการเพาะเห็ดฮังการีเข้ากับวิชาเรียนเกษตร กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ และจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น
นักเรียนโรงเรียนวัดนากลางมีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานร่วมกัน
285
22
3. กิจกรรม Thai School Lunch1
วันที่ 24 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- วางแผนในการทำงาน
- จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ให้กับแม่ครัวเพื่อสุขอนามัยในด้านอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการเตรียมการทำอาหารด้วยความสะอาด
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
285
227
4. กิจกรรมการเลี้ยง กบและปลา1
วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อพันธ์ุกบ และปลาดุก150 กก.
- นำมาปล่อยในบ่อดิน และกระชัง จำนวน 2 กระชัง
- เด็กนักเรียนจำนวน 30 คน ที่รับผิดชอบ ดำเนินการเลี้ยงดูโดยให้อาหารกบ และปลาดุกทุกวัน เป็นระยะเวลา 100 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดินเพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน30คน มีทักษะในการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดิน
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดินนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดิน
4. นักเรียนเกิดความรู้ในการเลี้ยงกบ และปลาดุกด้วยตนเอง
285
34
5. กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรี ครั้งที่ 1
วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อวัสดุ อุปกรณ์มาเตรียมในการทำปุ๋ย
- เด็กนักเรียนจำนวน 40 คน ดำเนินการเรียนรู้วิธีการผสมปุ๋ยให้ถูกต้อง แและรอระยะเวลาที่จะสามารถนำไปใช้ได้
- นำปุ๋ยที่หมักได้แล้วนั้นนำไปใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการทำปุ๋ยหมัก เพื่อนำผลผลิตมาใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
2. นักเรียน40คน มีทักษะในการผสมปุ๋ยหมักได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมผสมปุ๋ยหมักนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากใช้ปุ๋ยหมักของโรงเรียน
4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำปุ๋ยหมักแบบชีวภาพ
230
44
6. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ) ระหว่างการดำเนินการ
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดอบรม ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จำนวน 63 คน
2.จัดกิจกรรมโดยแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน 1.)ฐานสวยหล่อด้วยอาหาร 5 หมู่2.)ฐานจัดอาหารง่ายๆด้วย TSL3.)ฐานเกมส์สุขภาพ
3.ติดตามระบบเฝ้าระวังโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียน63คน มีความรู้ในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่
3. นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ผู้ปกครองได้
65
86
7. จัดทำรายงานปิดงวด 1
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมรับฟังคำชี้แจงในการดำเนินการรายงานงวดที่ 1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การทำรายงานงวดที่ 1 ได้เรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบ
2
2
8. กิจกรรมการทำนาข้าวและการผลิตข้าวกล้องการเรียนรู้สู่ชุมชน ครั้งที่ 2
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อพันธ์ุข้าวไร้เบอร์รี่150 กก.
- ดำนาโดยใช้รถไถ เดือน กรกฎาคม ใช้เวลา 3 ชั่วโมง จำนวน 2 งาน
- เด็กนักเรียนจำนวน 50 คน และครู 5 คน ดำเนินการถอนหญ้าและวัชพืช ในแปลงนาของโรงเรียน จำนวน 2 งาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการทำนาข้าวไร้เบอร์รี่ ในแปลงนาของโรงเรียนจำนวน 2 งาน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลต้นข้าวโดยการกำจัดวัชพืชในแปลงนาเพื่อให้ต้นข้าวสามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชในแปลงนาข้าวนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำนาข้าวแบบอินทรี
285
280
9. กิจกรรมเพาะเห็ดฮังการี่2
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ในภาคเรียนที่สองได้ซื้อเห็ดมาดำเนินการ 2 ครั้ง
1. ครั้งที่ 1 ในวันที่ 1 ก.พ. 60 600 ก้อน
2. ครั้งที่ 1 ในวันที่281 ก.พ. 60 700 ก้อน เนื่องจากนำงบที่เหลือจากงบพัฒนาบุคลากรมาใช้
1.ประชุม วางแผน การดำเนินการเพาะเห็ด
2. จัดซื้อก้อนเห็ดฮังการี่ จำนวน 600
3. ครูวันชัย กิจกำรูญ ครูผู้สอนนักเรียนชั้น ป.6 ได้จัดการเรียนรู้การเพาะเห็ดฮังการี่ให้กับนักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 21 คน โดยมีเนื้อหาดังนี้
3.1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเห็ดการวางก้อนเชื้อในลักษณะแนวนอนโดยวางเรียงต่อกันเป็นแนวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ
3.2.การเปิดดอก โดยเปิดจุกและสำลีจากคอขวดออกและพับปากถุงให้เหมือนเดิมกับตอนที่ยังมีจุกคอขวดอยู่เพื่อจะทำให้เก็บดอกเห็ดได้ง่าย
3.3.การรดน้ำ ควรพ่นให้ผิวหน้าของก้อนเชื้อชื้นก็พอ เพราะจะทำให้ก้อนเชื้อมีเชื้อราจะเน่าเสียเร็ว การรดน้ำประมาณวันละ 3-4 ครั้งแล้วแต่สภาพอากาศ
3.4.การเก็บดอกเห็ดและการทำความสะอาดหน้าก้อนเห็ด เมื่อเห็ดออกดอกและบานจนได้ขนาดที่ต้องการแล้วเก็บดอกโดยจับที่โคนดอกทั้งช่อโยกซ้ายขวาบนล่างแล้วดึงออกจากถุงเห็ด ระวังอย่าให้ถุงเห็ดบาน ถ้าโคนเห็ดขาดอยู่ให้แคะออกเพื่อป้องกันการเน่าเสีย การทำความสะอาดก้อนเชื้อทำได้โดยเขี่ยเศษเห็ดที่ติดอยู่ข้างในถุงออกให้หมด และงดให้น้ำ 3 วันถ้าก้อนเห็ดมีเชื้อราให้นำออกทันที
3.5.ส่งผลผลิตที่ได้สู่โรงอาหารในโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผลผลิตเกี่ยวกับการเกษตรที่ปลอดภัยไร้สารเคมี
230
230
10. ปลูกผลไม้กินได้โดยชุมชนมีส่วนร่วม ครั้งที่ 1
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมวางแผน
2.ปรับหน้าดิน
3.ลงมือปลูก
4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการปลูกผลไม้กินได้ ในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลต้นไม้โดยการกำจัดวัชพืชเพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
230
280
11. กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรี ครั้งที่ 2
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อวัสดุ อุปกรณ์มาเตรียมในการทำปุ๋ย
- เด็กนักเรียนจำนวน 40 คน ดำเนินการเรียนรู้วิธีการผสมปุ๋ยให้ถูกต้อง แและรอระยะเวลาที่จะสามารถนำไปใช้ได้
- นำปุ๋ยที่หมักได้แล้วนั้นนำไปใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการทำปุ๋ยหมัก เพื่อนำผลผลิตมาใช้กับพืช ต้นไม้ในโรงเรียนเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้สารพิษ
2. นักเรียน40คน มีทักษะในการผสมปุ๋ยหมักได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมผสมปุ๋ยหมักนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากใช้ปุ๋ยหมักของโรงเรียน
4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำปุ๋ยหมักแบบชีวภาพ
230
280
12. กิจกรรมเลี้ยงกบและปลา2
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ซื้อพันธ์ุกบ 1200 ตัว
- นำมาปล่อยในบ่อดิน และกระชัง จำนวน 2 กระชัง
- เด็กนักเรียนจำนวน 30 คน ที่รับผิดชอบ ดำเนินการเลี้ยงดูโดยให้อาหารกบ และปลาดุกทุกวัน เป็นระยะเวลา 100 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการเลี้ยงกบ ในกระชังและบ่อดิน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน30คน มีทักษะในการเลี้ยงกบในกระชังและบ่อดิน
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมการเลี้ยงกบในกระชังและบ่อดินนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการเลี้ยงกบ ในกระชังและบ่อดิน
4. นักเรียนเกิดความรู้ในการเลี้ยงกบ ด้วยตนเอง
230
230
13. กิจกรรมปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมวางแผน
2.ปรับหน้าดิน
3.ลงมือปลูก
4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการปลูกผักกินได้ ในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลผักโดยการกำจัดวัชพืชเพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
285
280
14. กิจกรรม Thai School Lunch2
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุม
2.ให้ความรู้นักเรียน
3.จัดตั้งแกนนำนักเรียนคอยดูแลปฏิบัติงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียน220คน มีทักษะในการบริโภคอาหารที่ดีมีประโยชน์โ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัย
230
230
15. กิจกรรมปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ครั้งที่ 4
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมวางแผน
2.ปรับหน้าดิน
3.ลงมือปลูก
4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. มีการปลูกผักกินได้ ในโรงเรียน เพื่อนำผลผลิตมาจัดเป็นเมนูอาหารให้กับเด็กนักเรียน
2. นักเรียน50คน มีทักษะในการดูแลผักโดยการกำจัดวัชพืชเพื่อให้ต้นไม้สามารถเจริญเติบโตได้ดี ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง
3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
285
280
16. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ) หลังการดำเนินการ
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดอบรม ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ม.1ม และม.3 และผู้ปกครอง จำนวน 85 คน
2.จัดกิจกรรมโดยแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน 1.)ฐานสวยหล่อด้วยอาหาร 5 หมู่ 2.)ฐานจัดอาหารง่ายๆด้วย TSL 3.)ฐานเกมส์สุขภาพ
3.ติดตามระบบเฝ้าระวังโภชนาการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. นักเรียน63คน มีความรู้ในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่
ผลลัพธ์
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน
2. นักเรียนดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่
3. นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ผู้ปกครองได้
120
115
17. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนดอกเบี้ยเงินฝากคืนเงินโครงการ จำนวน 8.91 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สสส. ได้รับเงินคืน จำนวน 8.91 บาท
3
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของนักเรียนทุกคนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตร
2.ร้อยละ 10 ที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหารโดยผ่านสหกรณ์นักเรียน
3.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก)
ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 %
4.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม)
5.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน
6.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วม
จัดทำเมนูอาหารสำหรับเด็กทุกสัปดาห์โดยร่วมมือกับเจ้าหน้าที่อาหารกลางวันและคนจัดซื้อ
2
เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง)
2.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง
3.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)
3
เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของบุคลากรภายในโรงเรียนส่งเสริมและติดตามการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างถูกต้อง
2.ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองของนักเรียนทุกชั้นเรียนและชุมชนตระหนักถึงความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและนำไปใช้ในการจัดอาหารที่บ้านได้อย่างถูกต้อง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน (3) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดนากลาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-029 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.29 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเลี้ยงกบโดยใช้อาหารสวรรค์
1.โดยปกติแล้วจะให้อาหารเม็ดกบวันละ 2 มื้อ คือเช้าและเย็น
2.ทางโรงเรียนได้ปรับเปลี่ยนการให้อาหารจากอาหารเม็ด 2 มื้อเหลือเพียง 1 มื้อ ส่วนมือเย็นจะให้เป็นอาหารบด
3.อาหารบดนำมาจากอาหารที่เหลือของนักเรียนในแต่ละวันนำมาตากแห้ง 2-3 แดด
4.นำอาหารจากที่ตากไว้แล้วนำมาบดหรือตำพอแหลกแล้วนำไปให้อาหารกบแทนอาหารเม็ด
5.ปริมาณอาหารที่บดเท่ากับอาหารเม็ดที่ให้ในแต่ละมื้อ
6.ผลปรากฏว่า กบมีการเจริญเติบโตได้ดีเทียบเท่ากับการให้อาหารเม็ด ส่งผลให้ลดต้นทุนในการซื้ออาหารเม็ดได้มาก
1.จัดประชุมวางแผน
2.ขอคำแนะนำจากเกษตรอำเภอ
3.ลงมือปฏิบัตินักเรียนในเครือข่าย
4.นำปัญหาที่พบมาหาแนวทางในการแก้ไขโดยหาความรู่้พิ่มเติมหรือถามจากผู้รู้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนวัดนากลาง จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ ศรร.1112-029
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเบญจวิทย์ ตีระมาตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนวัดนากลาง ”
90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์
หัวหน้าโครงการ
นายเบญจวิทย์ ตีระมาตย์
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ 90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ ศรร.1112-029 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-น.29
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนวัดนากลาง จังหวัดนครสวรรค์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนวัดนากลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนวัดนากลาง
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนวัดนากลาง " ดำเนินการในพื้นที่ 90 หมู่ 1 ตำบลนากลาง อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์ รหัสโครงการ ศรร.1112-029 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนวัดนากลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 335 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนวัดนากลางจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการเพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
- เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการ ดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและ
ความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชนตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน - ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการทำนาข้าวและการผลิตข้าวกล้องการเรียนรู้สู่ชุมชน ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชในแปลงนาข้าวนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำนาข้าวแบบอินทรี
|
285 | 60 |
2. กิจกรรมการเพาะเห็ดฮังการี่1 |
||
วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุม วางแผน การดำเนินการเพาะเห็ด วันที่ 2 กรกฎาคม 59
2. จัดซื้อก้อนเห็ดฮังการี่ จำนวน 600 3.1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเห็ดการวางก้อนเชื้อในลักษณะแนวนอนโดยวางเรียงต่อกันเป็นแนวและวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ 3.2.การเปิดดอก โดยเปิดจุกและสำลีจากคอขวดออกและพับปากถุงให้เหมือนเดิมกับตอนที่ยังมีจุกคอขวดอยู่เพื่อจะทำให้เก็บดอกเห็ดได้ง่าย 3.3.การรดน้ำ ควรพ่นให้ผิวหน้าของก้อนเชื้อชื้นก็พอ เพราะจะทำให้ก้อนเชื้อมีเชื้อราจะเน่าเสียเร็ว การรดน้ำประมาณวันละ 3-4 ครั้งแล้วแต่สภาพอากาศ 3.4.การเก็บดอกเห็ดและการทำความสะอาดหน้าก้อนเห็ด เมื่อเห็ดออกดอกและบานจนได้ขนาดที่ต้องการแล้วเก็บดอกโดยจับที่โคนดอกทั้งช่อโยกซ้ายขวาบนล่างแล้วดึงออกจากถุงเห็ด ระวังอย่าให้ถุงเห็ดบาน ถ้าโคนเห็ดขาดอยู่ให้แคะออกเพื่อป้องกันการเน่าเสีย การทำความสะอาดก้อนเชื้อทำได้โดยเขี่ยเศษเห็ดที่ติดอยู่ข้างในถุงออกให้หมด และงดให้น้ำ 3 วันถ้าก้อนเห็ดมีเชื้อราให้นำออกทันที 3.5.ส่งผลผลิตที่ได้สู่โรงอาหารในโครงการอาหารกลางวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.นักเรียนระดับชั้น ป.6 จำนวน21คน มีความรู้ มีทักษะในการเพาะเห็ดฮังการี่ 2.นักเรียนระดับชั้น ป.6 จำนวน21คน นำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3.นักเรียนจำนวน141 คน เป็นแกนนำในการให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในเรื่องการเพาะเห็ดฮังการี่ได้ ผลผลัพธ์ 1.โรงเรียนวัดนากลางมีแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ดฮังการี่ให้กับโรงเรียน และชุมชน 2.โรงเรียนวัดนากลางมีผลผลิตเห็ดฮังการี่นำไปใช้ประกอบอาหารในโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทั้งโรงเรียน 3.โรงเรียนวัดนากลางสามารถเชื่อมโยงและบูรณาการกิจกรรมการเพาะเห็ดฮังการีเข้ากับวิชาเรียนเกษตร กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ และจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกระดับชั้น นักเรียนโรงเรียนวัดนากลางมีทักษะชีวิตและทักษะการทำงานร่วมกัน
|
285 | 22 |
3. กิจกรรม Thai School Lunch1 |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
|
285 | 227 |
4. กิจกรรมการเลี้ยง กบและปลา1 |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดินนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการเลี้ยงกบ และปลาดุกในกระชังและบ่อดิน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการเลี้ยงกบ และปลาดุกด้วยตนเอง
|
285 | 34 |
5. กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรี ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมผสมปุ๋ยหมักนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากใช้ปุ๋ยหมักของโรงเรียน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำปุ๋ยหมักแบบชีวภาพ
|
230 | 44 |
6. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ) ระหว่างการดำเนินการ |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดอบรม ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จำนวน 63 คน 2.จัดกิจกรรมโดยแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน 1.)ฐานสวยหล่อด้วยอาหาร 5 หมู่2.)ฐานจัดอาหารง่ายๆด้วย TSL3.)ฐานเกมส์สุขภาพ 3.ติดตามระบบเฝ้าระวังโภชนาการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ 3. นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ผู้ปกครองได้
|
65 | 86 |
7. จัดทำรายงานปิดงวด 1 |
||
วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมรับฟังคำชี้แจงในการดำเนินการรายงานงวดที่ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการทำรายงานงวดที่ 1 ได้เรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบ
|
2 | 2 |
8. กิจกรรมการทำนาข้าวและการผลิตข้าวกล้องการเรียนรู้สู่ชุมชน ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชในแปลงนาข้าวนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำนาข้าวแบบอินทรี
|
285 | 280 |
9. กิจกรรมเพาะเห็ดฮังการี่2 |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำในภาคเรียนที่สองได้ซื้อเห็ดมาดำเนินการ 2 ครั้ง
1. ครั้งที่ 1 ในวันที่ 1 ก.พ. 60 600 ก้อน 1.ประชุม วางแผน การดำเนินการเพาะเห็ด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผลผลิตเกี่ยวกับการเกษตรที่ปลอดภัยไร้สารเคมี
|
230 | 230 |
10. ปลูกผลไม้กินได้โดยชุมชนมีส่วนร่วม ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมวางแผน 2.ปรับหน้าดิน 3.ลงมือปลูก 4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
|
230 | 280 |
11. กิจกรรมผลิตปุ๋ยอินทรี ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมผสมปุ๋ยหมักนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากใช้ปุ๋ยหมักของโรงเรียน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการทำปุ๋ยหมักแบบชีวภาพ
|
230 | 280 |
12. กิจกรรมเลี้ยงกบและปลา2 |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมการเลี้ยงกบในกระชังและบ่อดินนำไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการเลี้ยงกบ ในกระชังและบ่อดิน 4. นักเรียนเกิดความรู้ในการเลี้ยงกบ ด้วยตนเอง
|
230 | 230 |
13. กิจกรรมปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมวางแผน 2.ปรับหน้าดิน 3.ลงมือปลูก 4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
|
285 | 280 |
14. กิจกรรม Thai School Lunch2 |
||
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุม 2.ให้ความรู้นักเรียน 3.จัดตั้งแกนนำนักเรียนคอยดูแลปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
|
230 | 230 |
15. กิจกรรมปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมวางแผน 2.ปรับหน้าดิน 3.ลงมือปลูก 4.แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการดูแล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อแขนและส่วนอื่นของร่างกาย จากการที่ทำกิจกรรมกำจัดวัชพืชไปสู่สุขภาพที่แข็งแรง 3. เกิดความมั่นคงทางอาหาร โรงเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยเนื่องจากการทำนาข้าวแบบอินทรี
|
285 | 280 |
16. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ) หลังการดำเนินการ |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดอบรม ชี้แจงนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ม.1ม และม.3 และผู้ปกครอง จำนวน 85 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน 2. นักเรียนดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ 3. นักเรียนสามารถขยายผลไปสู่ผู้ปกครองได้
|
120 | 115 |
17. คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนดอกเบี้ยเงินฝากคืนเงินโครงการ จำนวน 8.91 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสสส. ได้รับเงินคืน จำนวน 8.91 บาท
|
3 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของนักเรียนทุกคนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการโดยใช้ผลผลิตทางการเกษตร 2.ร้อยละ 10 ที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหารโดยผ่านสหกรณ์นักเรียน 3.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 4.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 5.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 6.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วม |
จัดทำเมนูอาหารสำหรับเด็กทุกสัปดาห์โดยร่วมมือกับเจ้าหน้าที่อาหารกลางวันและคนจัดซื้อ |
|||
2 | เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน ตัวชี้วัด : 1.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ) |
|
|||
3 | เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของบุคลากรภายในโรงเรียนส่งเสริมและติดตามการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างถูกต้อง 2.ร้อยละ 70 ของผู้ปกครองของนักเรียนทุกชั้นเรียนและชุมชนตระหนักถึงความสำคัญในการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและนำไปใช้ในการจัดอาหารที่บ้านได้อย่างถูกต้อง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน (3) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดนากลาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-029 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.29 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การเลี้ยงกบโดยใช้อาหารสวรรค์
1.โดยปกติแล้วจะให้อาหารเม็ดกบวันละ 2 มื้อ คือเช้าและเย็น
2.ทางโรงเรียนได้ปรับเปลี่ยนการให้อาหารจากอาหารเม็ด 2 มื้อเหลือเพียง 1 มื้อ ส่วนมือเย็นจะให้เป็นอาหารบด
3.อาหารบดนำมาจากอาหารที่เหลือของนักเรียนในแต่ละวันนำมาตากแห้ง 2-3 แดด
4.นำอาหารจากที่ตากไว้แล้วนำมาบดหรือตำพอแหลกแล้วนำไปให้อาหารกบแทนอาหารเม็ด
5.ปริมาณอาหารที่บดเท่ากับอาหารเม็ดที่ให้ในแต่ละมื้อ
6.ผลปรากฏว่า กบมีการเจริญเติบโตได้ดีเทียบเท่ากับการให้อาหารเม็ด ส่งผลให้ลดต้นทุนในการซื้ออาหารเม็ดได้มาก
1.จัดประชุมวางแผน
2.ขอคำแนะนำจากเกษตรอำเภอ
3.ลงมือปฏิบัตินักเรียนในเครือข่าย
4.นำปัญหาที่พบมาหาแนวทางในการแก้ไขโดยหาความรู่้พิ่มเติมหรือถามจากผู้รู้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนวัดนากลาง
รหัสโครงการ ศรร.1112-029 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.29 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การเลี้ยงกบโดยใช้อาหารสวรรค์ |
1.โดยปกติแล้วจะให้อาหารเม็ดกบวันละ 2 มื้อ คือเช้าและเย็น 2.ทางโรงเรียนได้ปรับเปลี่ยนการให้อาหารจากอาหารเม็ด 2 มื้อเหลือเพียง 1 มื้อ ส่วนมือเย็นจะให้เป็นอาหารบด 3.อาหารบดนำมาจากอาหารที่เหลือของนักเรียนในแต่ละวันนำมาตากแห้ง 2-3 แดด 4.นำอาหารจากที่ตากไว้แล้วนำมาบดหรือตำพอแหลกแล้วนำไปให้อาหารกบแทนอาหารเม็ด 5.ปริมาณอาหารที่บดเท่ากับอาหารเม็ดที่ให้ในแต่ละมื้อ 6.ผลปรากฏว่า กบมีการเจริญเติบโตได้ดีเทียบเท่ากับการให้อาหารเม็ด ส่งผลให้ลดต้นทุนในการซื้ออาหารเม็ดได้มาก |
1.จัดประชุมวางแผน 2.ขอคำแนะนำจากเกษตรอำเภอ 3.ลงมือปฏิบัตินักเรียนในเครือข่าย 4.นำปัญหาที่พบมาหาแนวทางในการแก้ไขโดยหาความรู่้พิ่มเติมหรือถามจากผู้รู้ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนวัดนากลาง จังหวัด นครสวรรค์
รหัสโครงการ ศรร.1112-029
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเบญจวิทย์ ตีระมาตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......