แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ ”
หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายถาวร หนูสงวน
ได้รับการสนับสนุนโดย โรงเรียนบ้านเกาะเสือ
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ
ที่อยู่ หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-107 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.23
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านเกาะเสือ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านเกาะเสือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านเกาะเสือ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ศรร.1411-107 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,400.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านเกาะเสือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 84 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ
1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา
2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านเกาะเสือ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านเกาะเสือได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. ในการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- นักเรียน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีโภชนาการเจริญเติบโตสมวัย โดยการรับประทานอาหารครบทั้ง ๕ หมู่ และได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย
- บุคลากรในโรงเรียนได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการอาหารและโภชนาการ แบบครบวงจร
- โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ต่อไป
- นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ เพื่อเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้
- นักเรียนสามารถหารายได้ระหว่างเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดกับกิจกรรมในครอบครัวได้
- นักเรียนมีความสุขในการเรียน และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร - โปรแกรม Thai School Lunch - ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ
วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ครูผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน และอนามัยโรงเรียน เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการ การเข้าร่วมอบรม โปรแกรม Thai School Lunch และ ระบบเฝ้าระวังโภชนาการณ สถานที่ ณ โรงแรมอมารีดอนเมือง
ในวันที่ 10 -12 พฤษภาคม 2559
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครู จำนวน 2 คน ได้ เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการ โปรแกรม Thai School Lunch และ ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ
- ครู ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ โปรแกรม Thai School Lunch เพื่อ มาดำเนินงานกิจกรรอาหารกลางวันในโรงเรียน
- โรงเรียนสามารถเป็นต้นแบบด้านอาหารกลางวัน แก่เครือข่าย หรือบุคคลที่สนใจ
2
2
2. สหกรณ์นักเรียน
วันที่ 17 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน แต่งตั้งผู้รับผิดชอบการอบรม เตรียมเอกสาร คัดเลือกกลุ่มนักเรียนที่รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนจำนวน 30คน ได้รับการอบรมควมรู้เรื่องสหกรณ์นักเรียน
นักเรียนได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับสหกรณ์ การลงบัญชี รับ จ่าย การขาย การบันทึก
102
33
3. การทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด
วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คุณครูและนักเรียนปฏิบัติการกรมการทำปุ๋ยพืชสดและปุ๋ยชีวภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- โรงเรียนมีกิจกรรม การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
- โรงเรียน ให้นักเรียน ได้ปฏิบัติกิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด
ผลลัพธ์
- นักเรียนได้เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักปุ๋ยพืชสด
- แกนนำนักเรียน ได้ลงมือทำปุ๋ยหมักปุ๋ยพืชสด
- นักเรียนนำปุ๋ยหมักปุ๋ยพืชสดไปใช้ ในกิจกรรมการเกษตร การปลูกผักในโรงเรียน
- นักเรียนทั้งหมด 79คนได้มีส่วนี่วมในการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด โดย จัดเก็บขยะชีวภาพใบไม้หญ้าเศษ อาหารส่งยังโรงปุ๋ยหมัก
40
54
4. การเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สั่งแม่ไก่ไข่จำนวน100 ตัวจากฟาร์มไก่ไข่อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
- ปรับปรุงโรงเรือนไก่ไข่ โดยการกวาดทำความสะอาด ล้างกรงตับโรยปูนขาวฆ่าเชื้อ โรยแกลบ แห้ง
- ครูผู้รับผิดชอบนำนักเรียน ไปรับไก่ ณ ฟาร์มไก่ ซื้ออาหาร อุปกรณ์สำหรับโรงเรือนเพิ่มเติม
- จัดแกนนำนักเรียนดูแลและรับผิดชอบ กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ โดยมีหน้าที่ให้อาหาร เก็บไข่การจำหน่ายลงบัญชี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- โรงเรียนมีกิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่ โดยมีผลผลิตจากไก่ไข่วันละ80ฟอง
- โรงเรียนมีการบูรณาการ การเรียนการสอนในกิจกรรม ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ผลลัพธ์
- นักเรียนมีไข่ไก่ รับประทานในโครงการอาหารกลางวัน
- นักเรียนได้ประสบการณ์จริง ในการปฏิบัติกิจกรรม
- นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการเลี้ยงไก่ไข่ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
104
91
5. การเพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- สั่งซื้อก้อนเห็ดนางฟ้าจำนวน200 ก้อนจากเกษตรกรอำเภอควนเนียง
- แต่งตั้ง แกนนำนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเพาะเห็ด มีหน้าที่ ไปรับเห็ดปรับปรุง โรงเรือน จัดก้อนเห็ดรดน้ำดูแลรักษา เก็บผลผลิตจำหน่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- โรงเรียนมีโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า
- โรงเรียนมีกิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าบูรณาการในกิจกรรมการเกษตร และอาหารกลางวัน
ผลลัพธ์
- นักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะเสือ จำนวน79 คน ได้เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟ้า
- นักเรียนมีเห็ดนางฟ้า บริโภค ในโครงการอาหารกลางวันอย่างน้อยวันละ2กิโลกรัม
82
91
6. ปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียน
วันที่ 3 กรกฎาคม 2559 เวลา 14.00-15.30 น.กิจกรรมที่ทำ
นักเรียน บำเพ็ญประโยชน์ พัฒนาบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน จำนวน 79 คน ตั้งแต่ชั้นอนุบาล1-6 ได้ร่วมมือการพัฒนา ปรับภูมิทัศน์ของโรงเรียน เช่น การเก็บกวาดใบไม้รอบถนนชายทะเล การปลูกต้นไม้ ถางป่าไผ่ และป่าชสยเขาหลังอาคารเรียน ทำความสะาดโรงอาหาร
ผลที่ได้ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ มีสภาพภูมิทัศน์ที่สวยงาม เป็นระเบียบ มากขึ้น สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
82
0
7. การประเมินสถานการณ์
วันที่ 14 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียน ทุกชั้นเรียน
2. ใช้โปรแกรม คำนวณภาวะโภชนาการ และสรุปลง ในระบบออนไลน์
3. สำรวจการกินอาหารของนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
-โรงเรียน มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน ทุก 3 เดือน และรายงานผลในระบบออนไลน์ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
-ครูอนามัย จัดเก็บข้อมูลนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อการแก้ปัญหา และรายงานผลไปยังผู้ปกครอง
ผลลัพธ์
-นักเรียน ทั้งหมด 79 คน ได้รับการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ทุก รอบ 3 เดือน
-นักเรียนทราบ สถานการณื ภาวะโภชนาการและสุขภาพของตนเอง
-นักเรียนจะได้รับความรู้และข่าวสารเกี่ยวกับ การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
81
0
8. อบรมยุวเกษตร
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 เรื่องการเกษตร คือ การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลาดุก การปลูกผักไร้ดิน การปรับดิน การดูแลรักษาพืชผัก การเพาะเห็ด การทำปุ๋ย และเรื่องทั่วไป
โดยมีวิทยากรให้ความรู้ในแต่ละกิจกรรม ระยะเวลา อบรม 1 วัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน จำนวน 60 คน ได้อบรมเกี่ยวกับการเกษตร ในโรงเรียน
- นักเรียน ได้รับความรู้ เกี่ยวกับเรื่องการเกษตร ไปใช้ในการดำเนินกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส และสามารถนำความรู้และทักษะไปต่อยอด ได้ที่บ้านของตนเอง
40
75
9. ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำข้อมูลรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
0
2
2
10. การประชาสัมพันธ์โครงการเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ชี้แจงรายละเอียด กิจกรรมเด็กไทยแก้มใส โดยการจัดประชุม นักเรียน ผู้ปกครอง จำหน่ายผลผลิต ไปยังชุมชน ตามฤดูกาลของ ผลผลิต และประชาสัมพันธิ์ ตลาดนัดเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครอง ทราบ รายละอเียด ของโครงการเด็กไทยแก้มใส มากขึ้น และ มีส่วนเข้ามาช่วยเหลือ โรงเรียนมากขึ้น
60
0
11. อาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกลุ่มนักเรียน ตั้งแต่ชั้น อนุบาล 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปฏิบตืกิจกรรมอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก ในชั่วโมง ลดเวลาเรียนเพื่อมเวลารู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้เรียนรู้การทำอาหาร และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
77
0
12. อบรมโภชนาการอาหาร
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กำหนดวางแผนการจัดอบรม ด้านโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัยนักเรียน โดยเชิญวิทยากรด้านโภชนาการจากกลุ่มสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม หน่วยงานโรงพยาบาลพัทลุง มาอบรมให้ความรู้และทำกิจกรรมด้านอาหารโภชนาการ แก่นักเรียน แม่ครัว คุณครู และ ผู้ปกครองชองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ อ้วน ผอม และโลหิตจาง ระยะเวลาในการอบรม ระยะเวลาในการอบรม 1 วัน โดยมีคณะวิทยากร จำนวน 3 ท่าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนจำนวน 45 คน ผู้ปกครองนักเรียน 15 คน คณะครู 7 คน และแม่ครัว 1 คน ได้เข้ารับการอบรมโภชนาการอาหารเด็กวัยเรียน
- นักเรียน ผู้ปกครอง คณะครู แม่ครัว ได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับเรื่องอาหารและโภชนาการเด็กวัยเรียน สามารถเลือก หรือ หลีกเลี่ยง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์
- ผู้ปกครอง นำความรู้ที่ได้รับ ไปใช้ในการจัดอาหารให้บุตรหลาน ได้เองที่บ้านอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ
60
71
13. ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำนักเรียน คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา เดินทางเยี่ยมชม การดำเนินงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ โรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ได้นำความรู้และแนวคิด การดำเนินงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ โรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า มาปรับใช้กับโรงเรียนบ้านเกาะเสือ ในบริบทที่คล้ายคลึงกัน
65
0
14. สาธิตการทำอาหารเพื่อลดภาวะโภชนาการ
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขอเชิญเจ้าหน้าที่ฝ่าย สุขศึกษา ของโรงพยาบาลพัทลุง มาสาธิตการทำอาหารเพื่อสุขภาพ และจัดนิทรรศการ ณ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ โดยมีนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน อสม แกนนำ ร่วมกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
102
0
15. จัดนิทรรศการอาหารและโภชนาการและตลาดผลผลิต
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการจัดกิจกรรมตลาดนัดเด็กไทยแก้มใส โดยวางแผน และดำเนินการ โดยการให้นักเรียนนำผลผลิต ทางการเกษตร จากโรงเรียน จากบ้าน และชุมชน เข้ามาออกร้านจำหน่าย มีการเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลพัทลุง สาธิตการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ข้าวผัดอนามัย เชิญเจ้าหน้าที่ จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนปากพะยูน สาธิตการทำน้ำยาล้างจาน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะหมากร่วมกับ กลุ่ม อสม เกาะเสือ ออกหน่วยบริการสุขภาพ วัดความดัน ตรวจสุขภาพ ในงาน จำหน่ายขนมจีนแก้มใส และอาหารพื้บ้านหลายชนิด มีการแสดงกิจกรรมทางด้านสุขภาพของนักเรียนทุกระดับชั้นเรียน มีการจับรางวัลหางบัตร ดดยได้รับสนุนจากเครือข่ายตลาดนัด หน่วยงานในอำเภอปากะยูนทุกส่วน ได้รับความสนใจจากชุมชน และเสียงตอบรับดีเยี่ยม เปิดงานโดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหมาก และได้รับเกียรติจาก รองผ้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุงเขต 2 และศึกษานิเทศ เข้าเยี่ยมชมงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน และชุมชน ได้เรียนร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข นักเรียนและผู้ปกครองตอบรับ และอยากให้มีกิจกรรมรูปแบบนี้อีกทุกๆปีการศึกษา
107
286
16. ประชุมสัญจร
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สอส. ขอยกเลิกการประชุมสัญจร จึงไม่ได้มีการจัดกิจกรรม จึงขอคืนเงินให้กับทาง สอส. เป็นจำนวนเงิน 40,400 บาท
0
0
17. คืนดอกเบี้ยบัญชีโครงการ
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนดอกเบี้ยจากบัญชีโครงการ คืน สอส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คืนดอกเบี้ยจากบัญชีโครงการให้ สอส. เรียบร้อย
0
0
18. ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำข้อมูลรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 2 และขอเบิกงวด 3
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเพื่อรับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในการปิดงวด 2 และขอเบิกงวด 3
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับคำแนะนำในการจัดทำเอกสารปิดงวด 2 และปิดโครงการ
2
2
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี สมวัย
ชุมชนเครือข่ายมีส่วนร่วม ในการพัฒนาโรงเรียนในด้านการเกษตร การจัดบริการอาหาร และโภชนาการ
โรงเรียนมีการชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูง แปลผลเป็นรายบุคคล สรุปรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ผอม หรืออ้วน เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการ ปีการศึกษาละ 2 ครั้งโรงเรียนขอความร่วมมือจากผู้ปกครองเข้ามามีส่วนช่วยเหลือในกิจกรรมการเกษตร เช่นการสร้างโรงเรือนเพาะเห็ด การทำแปลงปลูกผักขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลพัทลุง อบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่นักเรียนวัยเรียนและแก่ผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพและสาธิตการทำอาหารเพื่อสุขภา่พในกิจกรรม อาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก
2
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี สมวัย
ชุมชนเครือข่ายมีส่วนร่วม ในการพัฒนาโรงเรียนในด้านการเกษตร การจัดบริการอาหาร และโภชนาการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ
รหัสโครงการ ศรร.1411-107 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกผัก ผักไฮโดรโปนิกส์
วางแผนจัดหาสถานที่ตั้ง ติดต่อประสานงานวิทยากรจากชุมชนในท้องถิ่น สร้างโรงเรือนโรงเมล็ดผักโดยนักการภารโรงโดยใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
ขยายองค์ความรู้ไปยังชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
กิจกรรมกับข้าวอุ่นใจไปบ้าน
แบ่งจัดอาหารสำหรับนักรียนที่ยากจน นักเรียนน้ำหนักน้อย นักเรียนกำพร้า หมุนเวียนกันไปสัปดาห์ละ 5 คนและให้นักเรียนเหล่านี้ช่วยเหลือดูแลโรงอาหาร
ปฏิบัติต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรมลดอ้วนด้วยฮูล่าฮูบ
นักเรียนที่อ้วนให้ออกกำลังกายด้วยฮู่าฮูบ ทุกตอนเช้า และก่อนกลับบ้านหรือในเวลาว่างทุกสัปดาห์
ให้ออกกำลังกายทุกคน ทุกวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
ล้างมือ7ขั้นตอน
ก่อนรับประทานอาหาร นักเรียรทุกคน ต้องล้างมือทุกครั้งโดยใช้กิจกรรมล้างมือ 7 ขั้นตอน
นำไปปฏิบัติที่บ้านได้และทุกสถานที่่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
พัฒนาสุดสัปดาห์
นักเรียนทุกคน คณะครู และบุคลากรกำหนดพัฒนาโรงเรียนตามความจำเป็นในทุกสุดสัปดาห์
พัฒนาไปถึงชมชน และบ้านของตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โรงเรียนบ้านเกาะเสือ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-107
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายถาวร หนูสงวน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ ”
หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายถาวร หนูสงวน
ศูนย์เรียนรู้และเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส
เมษายน 2560
ที่อยู่ หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-107 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.23
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านเกาะเสือ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านเกาะเสือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านเกาะเสือ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 8 ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ศรร.1411-107 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,400.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านเกาะเสือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 84 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ
1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา
2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านเกาะเสือ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนบ้านเกาะเสือได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สสส. ในการดำเนินงานตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
- นักเรียน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีโภชนาการเจริญเติบโตสมวัย โดยการรับประทานอาหารครบทั้ง ๕ หมู่ และได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าต่อสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย
- บุคลากรในโรงเรียนได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการจัดการอาหารและโภชนาการ แบบครบวงจร
- โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ต่อไป
- นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ เพื่อเตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้
- นักเรียนสามารถหารายได้ระหว่างเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดกับกิจกรรมในครอบครัวได้
- นักเรียนมีความสุขในการเรียน และปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร - โปรแกรม Thai School Lunch - ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำครูผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน และอนามัยโรงเรียน เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการ การเข้าร่วมอบรม โปรแกรม Thai School Lunch และ ระบบเฝ้าระวังโภชนาการณ สถานที่ ณ โรงแรมอมารีดอนเมือง ในวันที่ 10 -12 พฤษภาคม 2559 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น- ครู จำนวน 2 คน ได้ เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการ โปรแกรม Thai School Lunch และ ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ - ครู ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ โปรแกรม Thai School Lunch เพื่อ มาดำเนินงานกิจกรรอาหารกลางวันในโรงเรียน - โรงเรียนสามารถเป็นต้นแบบด้านอาหารกลางวัน แก่เครือข่าย หรือบุคคลที่สนใจ
|
2 | 2 |
2. สหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 17 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน แต่งตั้งผู้รับผิดชอบการอบรม เตรียมเอกสาร คัดเลือกกลุ่มนักเรียนที่รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนจำนวน 30คน ได้รับการอบรมควมรู้เรื่องสหกรณ์นักเรียน นักเรียนได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับสหกรณ์ การลงบัญชี รับ จ่าย การขาย การบันทึก
|
102 | 33 |
3. การทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคุณครูและนักเรียนปฏิบัติการกรมการทำปุ๋ยพืชสดและปุ๋ยชีวภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์
|
40 | 54 |
4. การเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์
|
104 | 91 |
5. การเพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์
|
82 | 91 |
6. ปรับปรุงภูมิทัศน์โรงเรียน |
||
วันที่ 3 กรกฎาคม 2559 เวลา 14.00-15.30 น.กิจกรรมที่ทำนักเรียน บำเพ็ญประโยชน์ พัฒนาบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น นักเรียน จำนวน 79 คน ตั้งแต่ชั้นอนุบาล1-6 ได้ร่วมมือการพัฒนา ปรับภูมิทัศน์ของโรงเรียน เช่น การเก็บกวาดใบไม้รอบถนนชายทะเล การปลูกต้นไม้ ถางป่าไผ่ และป่าชสยเขาหลังอาคารเรียน ทำความสะาดโรงอาหาร
|
82 | 0 |
7. การประเมินสถานการณ์ |
||
วันที่ 14 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียน ทุกชั้นเรียน 2. ใช้โปรแกรม คำนวณภาวะโภชนาการ และสรุปลง ในระบบออนไลน์ 3. สำรวจการกินอาหารของนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
-โรงเรียน มีการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน ทุก 3 เดือน และรายงานผลในระบบออนไลน์ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
-ครูอนามัย จัดเก็บข้อมูลนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ เพื่อการแก้ปัญหา และรายงานผลไปยังผู้ปกครอง
ผลลัพธ์
-นักเรียน ทั้งหมด 79 คน ได้รับการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ทุก รอบ 3 เดือน
|
81 | 0 |
8. อบรมยุวเกษตร |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6 เรื่องการเกษตร คือ การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงปลาดุก การปลูกผักไร้ดิน การปรับดิน การดูแลรักษาพืชผัก การเพาะเห็ด การทำปุ๋ย และเรื่องทั่วไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น- นักเรียน จำนวน 60 คน ได้อบรมเกี่ยวกับการเกษตร ในโรงเรียน
|
40 | 75 |
9. ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำข้อมูลรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกเงินงวดที่ 2 |
||
วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น0
|
2 | 2 |
10. การประชาสัมพันธ์โครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำชี้แจงรายละเอียด กิจกรรมเด็กไทยแก้มใส โดยการจัดประชุม นักเรียน ผู้ปกครอง จำหน่ายผลผลิต ไปยังชุมชน ตามฤดูกาลของ ผลผลิต และประชาสัมพันธิ์ ตลาดนัดเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครอง ทราบ รายละอเียด ของโครงการเด็กไทยแก้มใส มากขึ้น และ มีส่วนเข้ามาช่วยเหลือ โรงเรียนมากขึ้น
|
60 | 0 |
11. อาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกลุ่มนักเรียน ตั้งแต่ชั้น อนุบาล 1- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปฏิบตืกิจกรรมอาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก ในชั่วโมง ลดเวลาเรียนเพื่อมเวลารู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้เรียนรู้การทำอาหาร และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
77 | 0 |
12. อบรมโภชนาการอาหาร |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกำหนดวางแผนการจัดอบรม ด้านโภชนาการอาหารที่เหมาะสมกับวัยนักเรียน โดยเชิญวิทยากรด้านโภชนาการจากกลุ่มสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรม หน่วยงานโรงพยาบาลพัทลุง มาอบรมให้ความรู้และทำกิจกรรมด้านอาหารโภชนาการ แก่นักเรียน แม่ครัว คุณครู และ ผู้ปกครองชองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ อ้วน ผอม และโลหิตจาง ระยะเวลาในการอบรม ระยะเวลาในการอบรม 1 วัน โดยมีคณะวิทยากร จำนวน 3 ท่าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น- นักเรียนจำนวน 45 คน ผู้ปกครองนักเรียน 15 คน คณะครู 7 คน และแม่ครัว 1 คน ได้เข้ารับการอบรมโภชนาการอาหารเด็กวัยเรียน - นักเรียน ผู้ปกครอง คณะครู แม่ครัว ได้รับความรู้และทักษะเกี่ยวกับเรื่องอาหารและโภชนาการเด็กวัยเรียน สามารถเลือก หรือ หลีกเลี่ยง รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ - ผู้ปกครอง นำความรู้ที่ได้รับ ไปใช้ในการจัดอาหารให้บุตรหลาน ได้เองที่บ้านอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ
|
60 | 71 |
13. ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนำนักเรียน คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา เดินทางเยี่ยมชม การดำเนินงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ โรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ได้นำความรู้และแนวคิด การดำเนินงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ โรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า มาปรับใช้กับโรงเรียนบ้านเกาะเสือ ในบริบทที่คล้ายคลึงกัน
|
65 | 0 |
14. สาธิตการทำอาหารเพื่อลดภาวะโภชนาการ |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขอเชิญเจ้าหน้าที่ฝ่าย สุขศึกษา ของโรงพยาบาลพัทลุง มาสาธิตการทำอาหารเพื่อสุขภาพ และจัดนิทรรศการ ณ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ โดยมีนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน อสม แกนนำ ร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
102 | 0 |
15. จัดนิทรรศการอาหารและโภชนาการและตลาดผลผลิต |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกำหนดการจัดกิจกรรมตลาดนัดเด็กไทยแก้มใส โดยวางแผน และดำเนินการ โดยการให้นักเรียนนำผลผลิต ทางการเกษตร จากโรงเรียน จากบ้าน และชุมชน เข้ามาออกร้านจำหน่าย มีการเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลพัทลุง สาธิตการทำอาหารเพื่อสุขภาพ ข้าวผัดอนามัย เชิญเจ้าหน้าที่ จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนปากพะยูน สาธิตการทำน้ำยาล้างจาน เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะหมากร่วมกับ กลุ่ม อสม เกาะเสือ ออกหน่วยบริการสุขภาพ วัดความดัน ตรวจสุขภาพ ในงาน จำหน่ายขนมจีนแก้มใส และอาหารพื้บ้านหลายชนิด มีการแสดงกิจกรรมทางด้านสุขภาพของนักเรียนทุกระดับชั้นเรียน มีการจับรางวัลหางบัตร ดดยได้รับสนุนจากเครือข่ายตลาดนัด หน่วยงานในอำเภอปากะยูนทุกส่วน ได้รับความสนใจจากชุมชน และเสียงตอบรับดีเยี่ยม เปิดงานโดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหมาก และได้รับเกียรติจาก รองผ้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาพัทลุงเขต 2 และศึกษานิเทศ เข้าเยี่ยมชมงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน และชุมชน ได้เรียนร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข นักเรียนและผู้ปกครองตอบรับ และอยากให้มีกิจกรรมรูปแบบนี้อีกทุกๆปีการศึกษา
|
107 | 286 |
16. ประชุมสัญจร |
||
วันที่ 3 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสอส. ขอยกเลิกการประชุมสัญจร จึงไม่ได้มีการจัดกิจกรรม จึงขอคืนเงินให้กับทาง สอส. เป็นจำนวนเงิน 40,400 บาท
|
0 | 0 |
17. คืนดอกเบี้ยบัญชีโครงการ |
||
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนดอกเบี้ยจากบัญชีโครงการ คืน สอส. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคืนดอกเบี้ยจากบัญชีโครงการให้ สอส. เรียบร้อย
|
0 | 0 |
18. ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำข้อมูลรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 2 และขอเบิกงวด 3 |
||
วันที่ 4 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมเพื่อรับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในการปิดงวด 2 และขอเบิกงวด 3 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับคำแนะนำในการจัดทำเอกสารปิดงวด 2 และปิดโครงการ
|
2 | 2 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี สมวัย ชุมชนเครือข่ายมีส่วนร่วม ในการพัฒนาโรงเรียนในด้านการเกษตร การจัดบริการอาหาร และโภชนาการ |
โรงเรียนมีการชั่งนำ้หนักและวัดส่วนสูง แปลผลเป็นรายบุคคล สรุปรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ผอม หรืออ้วน เพื่อแก้ปัญหาด้านโภชนาการ ปีการศึกษาละ 2 ครั้งโรงเรียนขอความร่วมมือจากผู้ปกครองเข้ามามีส่วนช่วยเหลือในกิจกรรมการเกษตร เช่นการสร้างโรงเรือนเพาะเห็ด การทำแปลงปลูกผักขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลพัทลุง อบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่นักเรียนวัยเรียนและแก่ผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพและสาธิตการทำอาหารเพื่อสุขภา่พในกิจกรรม อาหารเสริมเพิ่มน้ำหนัก |
|||
2 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี สมวัย ชุมชนเครือข่ายมีส่วนร่วม ในการพัฒนาโรงเรียนในด้านการเกษตร การจัดบริการอาหาร และโภชนาการ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตาม เฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน (2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดำเนินงานความสำเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ
รหัสโครงการ ศรร.1411-107 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
การปลูกผัก ผักไฮโดรโปนิกส์
วางแผนจัดหาสถานที่ตั้ง ติดต่อประสานงานวิทยากรจากชุมชนในท้องถิ่น สร้างโรงเรือนโรงเมล็ดผักโดยนักการภารโรงโดยใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
ขยายองค์ความรู้ไปยังชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
กิจกรรมกับข้าวอุ่นใจไปบ้าน
แบ่งจัดอาหารสำหรับนักรียนที่ยากจน นักเรียนน้ำหนักน้อย นักเรียนกำพร้า หมุนเวียนกันไปสัปดาห์ละ 5 คนและให้นักเรียนเหล่านี้ช่วยเหลือดูแลโรงอาหาร
ปฏิบัติต่อไป
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
กิจกรรมลดอ้วนด้วยฮูล่าฮูบ
นักเรียนที่อ้วนให้ออกกำลังกายด้วยฮู่าฮูบ ทุกตอนเช้า และก่อนกลับบ้านหรือในเวลาว่างทุกสัปดาห์
ให้ออกกำลังกายทุกคน ทุกวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
ล้างมือ7ขั้นตอน
ก่อนรับประทานอาหาร นักเรียรทุกคน ต้องล้างมือทุกครั้งโดยใช้กิจกรรมล้างมือ 7 ขั้นตอน
นำไปปฏิบัติที่บ้านได้และทุกสถานที่่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
พัฒนาสุดสัปดาห์
นักเรียนทุกคน คณะครู และบุคลากรกำหนดพัฒนาโรงเรียนตามความจำเป็นในทุกสุดสัปดาห์
พัฒนาไปถึงชมชน และบ้านของตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ
รหัสโครงการ ศรร.1411-107 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | การปลูกผัก ผักไฮโดรโปนิกส์ |
วางแผนจัดหาสถานที่ตั้ง ติดต่อประสานงานวิทยากรจากชุมชนในท้องถิ่น สร้างโรงเรือนโรงเมล็ดผักโดยนักการภารโรงโดยใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ |
ขยายองค์ความรู้ไปยังชุมชน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | กิจกรรมกับข้าวอุ่นใจไปบ้าน |
แบ่งจัดอาหารสำหรับนักรียนที่ยากจน นักเรียนน้ำหนักน้อย นักเรียนกำพร้า หมุนเวียนกันไปสัปดาห์ละ 5 คนและให้นักเรียนเหล่านี้ช่วยเหลือดูแลโรงอาหาร |
ปฏิบัติต่อไป |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | กิจกรรมลดอ้วนด้วยฮูล่าฮูบ |
นักเรียนที่อ้วนให้ออกกำลังกายด้วยฮู่าฮูบ ทุกตอนเช้า และก่อนกลับบ้านหรือในเวลาว่างทุกสัปดาห์ |
ให้ออกกำลังกายทุกคน ทุกวัน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | ล้างมือ7ขั้นตอน |
ก่อนรับประทานอาหาร นักเรียรทุกคน ต้องล้างมือทุกครั้งโดยใช้กิจกรรมล้างมือ 7 ขั้นตอน |
นำไปปฏิบัติที่บ้านได้และทุกสถานที่่ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | พัฒนาสุดสัปดาห์ |
นักเรียนทุกคน คณะครู และบุคลากรกำหนดพัฒนาโรงเรียนตามความจำเป็นในทุกสุดสัปดาห์ |
พัฒนาไปถึงชมชน และบ้านของตนเอง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โรงเรียนบ้านเกาะเสือ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ ศรร.1411-107
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายถาวร หนูสงวน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......